17727 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายสรเดช จันทร์เที่ยง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/12/2564 8:24:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  700  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร ชุมชนเครือข่ายอินทรีย์ และผู้ที่มีความสนใจการผลิตพืชอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ฟาร์มมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการปี2565 2565 600,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. สุรชัย  ศาลิรัศ
นาย สถาพร  ฉิมทอง
นาย กฤษณโชติ  ประชาโรจน์
นาย ณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร
นาย ธนภัทร  เย็นมาก
นาย สรเดช  จันทร์เที่ยง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันนโยบายของรัฐบาลได้น้อมนำพระราชกระแสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ที่ทรงให้ติดตาม ขับเคลื่อน และเร่งรัด รวมทั้งแก้ไขปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของรัชกาลที่ 9 ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ บังเกิดประโยชน์สูงสุดกับราษฎร และเพื่อให้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสำเร็จตามวัตถุประสงค์ รวมทั้งน้อมนําศาสตร์พระราชามาใช้ในการบริหารจัดการดิน น้ำ ป่า ของประเทศ ทั้งในด้านเกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นหัวใจหลักของการเกษตร ที่ทำให้ราษฎร อยู่อย่างพอเพียงตามแนวทางของในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ก็ได้น้อมนำเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้มีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ครั้งที่ 17 ณ สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2538 ความว่า การเกษตรนั้นเป็นทั้งรากฐานและชีวิตสำหรับประเทศของเรา และเกษตรกรรมในยุคปัจจุบันนี้จำเป็นต้องได้รับการวางแผน และพัฒนาอย่างถูกต้อง ทุกคนจึงควรจะได้ถือเป็นภาระหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันศึกษาค้นคิดและปฏิบัติทดลอง หาวิธีการที่ดีที่เหมาะสมยิ่งๆ ขึ้น เพื่อให้การเกษตรในประเทศของเราได้พัฒนาก้าวหน้าไปได้อย่างมั่นคง ทฤษฎีใหม่เป็นวิธีปฏิบัติการเกษตรอีกแนวทางหนึ่งที่คิดค้นขึ้นสำหรับเกษตรกรที่มีที่ดินจำนวนน้อย หรือแปลงขนาดเล็ก มีหลักสำคัญอยู่ว่า แต่ละแปลงจะแบ่งออกเป็นส่วนๆ สมมุติว่าแปลงหนึ่งมี 15 ไร่ จะปลูกข้าว 5 ไร่ ปลูกไม้ผล พืชไร่ หรือพืชผักสวนครัว 5 ไร่ ขุดสระน้ำ 3 ไร่ ปลูกที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ อีก 2 ไร่ วิธีนี้ได้ทดลองปฏิบัติขั้นแรกมานานพอสมควร และได้ผลดีที่น่าพอใจระดับหนึ่ง คือเกษตรกรมีข้าวบริโภคเพียงพอตลอดปี และมีรายได้พอเลี้ยงตัวเองได้ต่อไปหากจะให้ได้ผลที่ยิ่งสมบูรณ์ขึ้น ในขั้นที่สอง ก็จะต้องรวมกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ด้วยความร่วมมือของหน่วยราชการ มูลนิธิ และเอกชน เพื่อช่วยเหลือในด้านการผลิต การตลาด การเป็นอยู่ต่างๆ และในขั้นที่สาม จะต้องร่วมมือกับสถาบันการเงินและการพลังงาน เพื่อช่วยเหลือด้านการจัดตั้ง และบริหารโรงสี ร้านสหกรณ์ รวมทั้งสนับสนุนการลงทุน …”

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำการเกษตรแบบผสมผสาน
เพื่อเป็นฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
เพื่อเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการให้กับเกษตรกร ผู้ผลิตในการผลิตพืชอย่างถูกวิธีก่อให้เกิดองค์ความรู้และการบริหารจัดการที่ดี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผู้เข้ามาศึกษาดูงานในฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 100 100 คน 700
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.455 0.115 0.03 ล้านบาท 0.6
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 ฐาน 1
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน
ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตผักสด
ฐานการเรียนรู้การผลิตไม้ดอก (เก๊กฮวยอินทรีย์)
ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพ เพื่อชุมชน
ฐานเรียนรู้การผลิตมะม่วงอินทรีย์เชิงพาณิชย์
ฐานเรียนรู้การผลิตกิ่งพันธุ์ไม้ผลรับรองพันธ์ุ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.สุรชัย  ศาลิรัศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสถาพร  ฉิมทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกฤษณโชติ  ประชาโรจน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธนภัทร  เย็นมาก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสรเดช  จันทร์เที่ยง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการพ่นสารชีวพันธ์ มะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท จำนวน 40000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการห่อผลมะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท จำนวน 40000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการเก็บผลผลิตและคัดเกรดมะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท จำนวน 40000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการตัดแต่งกิงลำไย จำนวน 5 ไร่ ๆ ละ 2,000 จำนวน 10000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการพ่นสารชีวพันธ์ ลำไยจำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท จำนวน 20000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษเอ 4 เครื่องเขียน สันรูด แฟ้มรายงาน ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 40000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกพิมพ์ ดีวีดี ซีดี จำนวน 30000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุเพาะกล้า ถาดเพาะกล้า ขุยมะพร้าว ไม้ค้าง เข่ง คราด พลั่ว, ช้อนพรวน จำนวน 250000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 250,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 250,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จำนวน 120000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 30,000.00 บาท 120,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อ PVC ปูน ข้องอ อิฐบล็อก ท่อ PE เป็นต้น จำนวน 10000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 600000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ยังไม่ได้รับงบประมาณ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานกับแหล่งทุน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย002
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล