17723 : โครงการบูรณาการวิชาการแก่ชุมชน "ชุมชนรักษ์โลก" (65-2.6.9)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.สุทธิพร ฟังเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/12/2564 15:23:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา นายกเทศมนตรี ผู้นำชุมชน ประชาชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ (สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร) 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ธวัชชัย  มานิตย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิกร  มหาวัน
อาจารย์ พรทิพย์  จันทร์ราช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและทรัพยากรมนุษย์อย่างใหญ่หลวง ประเทศไทยในปัจจุบันตกอยู่ภาวะความเสี่ยงจากสภาพเปลี่ยนแปลงจำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติอย่างสมดุลย์ มีความรู้-ความเข้าใจและมีจิตสำนึกของการดำรงชีพอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการปรับตัวและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง โดยมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนอื่นๆ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาที่มีภารกิจการบริการวิชาการแก่สังคม นอกเหนือจากภารกิจหลักด้านการเรียนการสอน และการวิจัยทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ และการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางการดำเนินงานในเชิงบูรณาการด้านการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม ในการดำเนินงานนั้น คณะได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ “ชุมชนรักษ์โลก” โดย ยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน และหลักเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้เพื่อนำความรู้ที่มีอยู่ภายในคณะไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และท้องถิ่น รวมทั้งสามารถแก้ปัญหา และพัฒนาที่เกิดจากความร่วมมือของชุมชน ท้องถิ่น อันนำไปสู่การเสริมสร้างและพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน งานบริการวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ได้เริ่มดำเนินการด้วยการนำผลสรุปจากผลการประชุมร่วมกับสำนักวิจัยฯ และส่วนราชการในเขตพื้นที่สันทรายที่ได้ทำความร่วมมือและข้อตกลง(MOU) ร่วมกัน นอกจากนี้ คณะได้ดำเนินการโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาสิ่งแวดล้อมบนฐานรากทรัพยากรของชุมชนบ้านป่าสักงาม ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นการต่อยอดงานวิจัยดังกล่าวจึงได้นำมาบูรณาการกับโครงการบริการวิชาการ โดยเฉพาะชุมชนหนองแหย่ง ตำบลหนองแหย่ง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าชุมชนต้องการให้คณะช่วยเหลือด้านการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชน ด้วยการกำหนดรูปแบบและแนวทางในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะรอบๆ พื้นที่หนองแหย่ง ให้เป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและนันทนาการของตำบลหนองแหย่ง เป็นพื้นที่เรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับชุมชน ตลอดจนใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการของชุมชนด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อตอบสนองการพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชายไทย
2. เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
3. เพื่อตอบสนองความต้องการชุมชนทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ การวางผังและการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม
4. เพื่อส่งเสริมการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการและงานวิจัยของคณะ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและนันทนาการตำบลหนองแหย่ง
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการสามารถสนองตามความต้องการของชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หน่วยงาน 1
KPI 8 : จำนวนศูนย์เรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์ 1
KPI 9 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและนันทนาการตำบลหนองแหย่ง
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบร่างแนวคิด ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและนันทนาการตำบลหนองแหย่ง
- สำรวจพื้นที่ เก็บข้อมูลพื้นฐานด้านกายภาพ และสัมภาษณ์ผู้นำชุมชน รับทราบความต้องการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกร  มหาวัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ 3 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่จำนวน 35 คนๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 3 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม
ขนาด A4 (20หน้า) จำนวน 35 เล่มๆ ละ 80 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
จำนวน 1 คันๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 3 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
- บรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 3 คน 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
- ปฏิบัติ จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเคมี ดินสอ ยางลบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ดินปลูก กระถาง จอบ เสียม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล