17718 : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพสธ.)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/11/2564 14:58:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/12/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ 2565 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย กิติพงษ์  วุฒิญาณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.8 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 65-3.1.8.1 บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยง สภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) พระองค์ทรงจัดตั้งโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการในกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช อนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช วางแผนพัฒนาพันธุกรรมพืช สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ได้ดำเนินการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชมะเกี๋ยงมาตั้งแต่ ปี 2537 ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (เดิมคือ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตทางภาคเหนือและสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง) ได้ร่วมสนองพระราชดำริมาตั้งแต่ต้น ทำการศึกษาประเมิน วิจัยพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีการวางแผนพัฒนาพันธุ์ ทางโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมะเกี๋ยงในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตห้างฉัตรลำปาง ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตเชียงราย (ดอยวาวี) ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตศรีษะเกษ รวมทั้งการท่ได้แจกจ่ายต้นพันธุ์มะเกี๋ยงให้แก่ราษฎรในจังหวัดลำปางไปปลูกเป็นแสนต้น เห็นควรที่จะมีการพัฒนาการใช้ประโยชน์พืชมะเกี๋ยงให้เกิดประโยชน์แท้แก่มหาชนชาวไทย โครงการศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยง ในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ จึงได้ดำเนินการจัดสร้างแปลงสาธิต เพื่อเป็นฐานเรียนรู้ ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติได้ดำเนินการสนองพระราชดำริฯ โดยขยายพื้นที่ศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยงทุก ๆ ปี ตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปัจจุบัน มีต้นมะเกี๋ยง อยู่จำนวนเกือบ 1,000 ต้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นศูนย์เรียรู้พืชอนุรักษ์ (พืชมะเกี๋ยง) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
2. เพื่อพัฒนาแปลงปลูกและต่อยอดไปสู่การใช้ประโยชน์จากพืชมะเกี๋ยง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพสธ.)
KPI 1 : จำนวนผู้เข้ามาศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : จำนวนผลผลิตมะเกี๋ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3000 กิโลกรัม 3000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพสธ.)
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพสธ.)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 5,000 บาท
2. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล