17703 : โครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบ้านป่าแดง ต.ป่าแดง อ.เมือง จ.แพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/7/2565 9:37:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรบ้านป่าแดงและผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2564 50,000.00
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. รัชนีวรรณ  คำตัน
อาจารย์ ดร. น้ำฝน  รักประยูร
อาจารย์ ดร. เกศินี  วีรศิลป์
อาจารย์ ดร. พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 65-3.1.4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ความว่า “การกสิกรรมและอาชีพในด้านเกษตรทุกทุกอย่างย่อมต้องอาศัยปัจจัยสําคัญหลายด้าน ด้านหนึ่งก็คือหลักวิชาของการเพาะปลูก เป็นต้น และอีกด้านหนึ่งก็เป็นการช่วยให้เพิ่มหลักวิชาเหล่านั้น และเมื่อได้ปฏิบัติแล้วได้ผลิตผลแล้วก็จะต้องสามารถแปลงและขายจําหน่ายผลิตผลที่ตนได้ทํา ฉะนั้นทุกอย่างต้องสอดคล้องกัน ความขยันหมั่นเพียรในการผลิต ความรู้ในวิชาการผลิตและความรู้ในการเป็นอยู่ ทั้งความรู้ในด้านจําหน่าย ล้วนเป็นความรู้ที่จะต้องประสานกันหมด” นำไปสู่การส่งเสริมให้ราษฎรปลูกพืชสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตนเอง (ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน, 2556) โดยเฉพาะโครงการส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรตามแนวพระราชดำริ ตั้งแต่ พ.ศ. 2523 เพื่อส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรและยกระดับการผลิตสมุนไพร โดยมีแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร ได้แก่ สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และอุทยานธรรมชาติสิรีรุกขชาติ เพื่อส่งเสริมการใช้และการพัฒนาสมุนไพรเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากยิ่งขึ้น อีกทั้งช่วยพลิกฟื้นผืนดิน ส่งเสริมให้ประชาชนมีสมุนไพรดีๆ ไว้อุปโภคบริโภค ช่วยสร้างรายได้ทำให้ความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้นและสามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวทางพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิธีการที่ทําให้เกษตรกรสามารถมีอาหารไว้บริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือจากการบริโภคจึงขายเป็นรายได้ เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของประชาชน (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ม.ป.ป.) ชุมชนบ้านป่าแดง ต.ป่าแดง อ.เมือง จ.แพร่ เป็นชุมชนที่มีศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญหาพื้นบ้านด้านสุขภาพและศูนย์กลางอาหารและสมุนไพรพื้นบ้าน ซึ่งเป็นการร่วมมือกันระหว่าง 3 ตำบลประกอบด้วย ตำบลป่าแดง ตำบลช่อแฮ และตำบลสวนเขื่อน เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้และศูนย์กลางในการประสานงานหมอพื้นบ้าน ทำให้เกิดเครือข่ายทำงานฟื้นฟูดูแลสุขภาพจากการใช้สมุนไพรและปลูกสมุนไพร และเป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ อาหารพร้อมผักพื้นบ้านและสมุนไพร รวมถึงการแปรรูปสมุนไพรเพื่อสร้างรายได้ ก่อให้เกิดความยั่งยืนและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน แต่จากการสัมภาษณ์คุณอัมราพร มุ้งทอง ประธานเครือข่ายฟื้นฟูภูมิปัญหาพื้นบ้าน และประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดแพร่ พบว่า ชุมชนบ้านป่าแดง ซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์การเรียนรู้ยังขาดองค์ความรู้ในด้านการบริหารจัดการไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร การวางแผนการตลาด การคิดต้นทุนและราคาผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมถึงการสร้างเวปเพจเพื่อจัดหาช่องทางการจำหน่ายที่เหมาะสมกับยุคปัจจุบันที่ผู้บริโภคให้ความสนใจในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ ดังนั้น ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้เล็งเห็นถึงความต้องการของชุมชน จึงต้องการการสนับสนุนโครงการ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร การวางแผนการตลาด การคิดต้นทุนและราคาผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมถึงการสร้างเวปเพจ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้รับการพัฒนาการและสามารถเพิ่มช่องทางการจำหน่าย เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเอง และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรบ้านป่าแดง
เพื่อถ่ายถอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์สมุนไพรบ้านป่าแดง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรบ้านป่าแดงได้รับการพัฒนา และ. เกษตรกร/ผู้เข้าร่วมโครงการได้แผนการตลาด สร้างเนื้อหาลงเวปเพจและการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมการพัฒนาผผลิตภัณฑ์สมุนไพรและการวางแผนการตลาด การสร้างเนื้อหาลงเวปเพจและการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของความรู้ความเข้าใจในการสร้างเนื้อหาลงเวปเพจ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโรงการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนแผนการตลาด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แผน 1
KPI 9 : ร้อยละของความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 11 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 12 : ร้อยละของความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและการวางแผนการตลาด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์สมุนไพรบ้านป่าแดงได้รับการพัฒนา และ. เกษตรกร/ผู้เข้าร่วมโครงการได้แผนการตลาด สร้างเนื้อหาลงเวปเพจและการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 28 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 28 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,920 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่ 500 บาท/วัน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท
4.ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว ระยะทาง 78 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 624 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,144.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,144.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติการ จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 3 คน 2 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.วัสดุสำนักงาน กระดาษ อุปกรณ์เครื่องเขียนฯลฯ เป็นเงิน 796 บาท
2. วัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกปริ้น ฯลฯ เป็นเงิน 2,260 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,056.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,056.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25000.00
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาด สร้างเนื้อหาลงเวปเพจและการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์สมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 28 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครือ่งดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 28 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,920 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่ 500 บาท/วัน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท
4.ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว ระยะทาง 78 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 624 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,144.00 บาท 0.00 บาท 11,144.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติการ จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 3 คน 2 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.วัสดุสำนักงาน กระดาษ อุปกรณ์เครื่องเขียนฯลฯ เป็นเงิน 796 บาท
2.วัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกปริ้น ฯลฯ เป็นเงิน 2,260 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,056.00 บาท 0.00 บาท 3,056.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สถานการณ์โควิดที่อาจจะเกิดการแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เข้าพบผู้นำชุมชนเพื่อบริหารจัดการเวลาของการเข้าพื้นที่เพื่อไม่ให้กระทบต่อการจัดกิจกรรม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 อ รัชนีวรรณ 2565
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล