17702 : โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพการแปรรูปกล้วยบ้านบุญแจ่ม ต.น้ำเลา อ.ร้องกวาง จ.แพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/11/2564 9:50:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรบ้านบุญแจ่ม ต.น้ำเลา อ.ร้องกวาง จ.แพร่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ฑีฆา  โยธาภักดี
อาจารย์ ดร. น้ำฝน  รักประยูร
อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 65-3.1.4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์จึงมีพระราชดำริให้ส่งเสริมอาชีพ แก่ประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ด้วยการดำเนินงาน “การพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา โดยมีพระราชประสงค์ เพื่อให้ประชาชนในถิ่นทุรกันดารรวมกันเป็นกลุ่มอาชีพ ผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของกลุ่มขึ้นมาเพื่อนำไปจำหน่าย ซึ่งจะทำให้ครอบครัวของประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ และยังส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น รวมทั้งยังทำให้เกิดความร่วมมือ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกิดทักษะในการใช้กระบวนการแก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน และสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้อีกด้วย พระราชดำริจากโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยบ้านบุญแจ่มมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ประชาชนมีอาชีพส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร และที่สำคัญชุมชนได้มีการอนุรักษ์ป่าชุมชน ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์อันดับต้นๆ ของจังหวัดแพร่ ป่าชุมชนมีลักษณะเป็นป่าดงดิบ มีพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าหลากหลายชนิด ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติที่ชุมชนรักษาไว้ แสดงให้เห็นถึงการมีลำน้ำไหลผ่านทุกหมู่บ้าน และมีแหล่งน้ำหลักของหมู่บ้านคือ อ่างเก็บน้ำแม่คำปอง ซึ่งถูกนำมาใช้ในงานด้านการเกษตรร้อยละ 55 ประชาชนมีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 1-5 ไร่/คน เกษตรกรนิยมปลูกข้าวเหนียวมากที่สุดร้อยละ 37 รองลงมาคือข้าวโพดร้อยละ 33 และข้าวเจ้าร้อยละ 15 ผลผลิตที่ได้ข้าวเหนียวอยู่ในช่วง 610-800 กก./ไร่ คิดเป็นร้อยละ 56 ข้าวโพดมีผลผลิตประมาณ 1 ตัน/ไร่ คิดเป็นร้อยละ 42 และข้าวเจ้ามีผลผลิตอยู่ในช่วง 600-800 กก. คิดเป็นร้อยละ 48 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557) ซึ่งพืชเหล่านี้เป็นพืชเศรษฐกิจหลักของชุมชน โดยมีพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้เสริมให้กับชุมชน ได้แก่ ผักพื้นบ้าน กล้วย เป็นต้น จากการสัมภาษณ์นายจิรพัฒน์ แจ่มรัตนโสภิณ ผู้ใหญ่บ้านบุญแจ่ม เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2563 พบว่าปริมาณผลผลิตกล้วยน้ำว้าในชุมชน มีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากปี 2561 ราคากล้วยน้ำว้าในตลาดมีราคาสูง ทำให้เกษตรกรในชุมชนหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ากันเพิ่มขิ้น มีการคาดการณ์ปริมาณผลผลิตในปี 2565 เพิ่มมากขึ้นและอาจทำให้เกิดภาวะปริมาณผลลผิตล้นตลาด ฉะนั้น ทางชุมชนจึงต้องการที่จะพัฒนากลุ่มอาชีพการแปรรูปกล้วยบ้านบุญแจ่ม ต.น้ำเลา อ.ร้องกวาง จ.แพร่ ขึ้นเป็นกลุ่มอาชีพอีก 1 กลุ่มในชุมชน เพื่อสร้างรายได้หรือเป็นอาชีพเสริมให้กับคนในชุมชน ดังนั้น ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้เล็งเห็นปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยโครงการดังกล่าวจะเข้าไปขับเคลื่อนโดยมีกิจกรรม คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพบ้านบุญแจ่ม ได้แก่ การจัดโครงสร้างองค์กรกลุ่มอาชีพ การคิดต้นทุนและราคาของผลิตภัณฑ์แปรรูป การสร้างช่องทางการจัดจำหน่ายที่เหมาะสม หากโครงการนี้ได้รับการสนับสนุน ส่งผลให้ผลลัพธ์ของโครงการนี้ช่วยทำให้เกิดกลุ่มอาชีพ ผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของกลุ่มขึ้นมาเพื่อนำไปจำหน่าย ซึ่งจะทำให้ครอบครัวของประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ และยังส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น รวมทั้งยังทำให้เกิดความร่วมมือ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกิดทักษะในการใช้กระบวนการแก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน และสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้อีกด้วย ตามพระราชดำริจากโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพการแปรรูปกล้วยบ้านบุญแจ่มด้วยแนวทาง การพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์จึงมีพระราชดำริให้ส่งเสริมอาชีพ แก่ประชาชนในถิ่นทุรกันดาร โดยใช้วัตถุดิบกล้วยที่มีปริมาณมากในท้องถิ่นมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
2 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านการคิดต้นทุน ราคาของผลิตภัณฑ์และช่องทางการตลาด
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชนได้องค์ความรู้ในการแปรรูปกล้วยเพิ่มขึ้น
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.022 0.028 ล้านบาท 0.05
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกล้วย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ผลิตภัณฑ์ 3
KPI 7 : กลุ่มอาชีพมีศักยภาพในการบริหารจัดการกลุ่ม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กลุ่ม 1
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชนได้องค์ความรู้ในการแปรรูปกล้วยเพิ่มขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปกล้วย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่ จำนวน 2 วัน ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การคิดต้นทุนราคาของผลิตภัณฑ์ และการวางแผนการตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ฑีฆา  โยธาภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
3. ค่าเช่าสถานที่ จำนวน 2 วัน ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ แฟ้ม ปากกา เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล