17701 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้พื้นถิ่น เพื่อการอนุรักษ์และเสริมสร้างอาชีพจากฐานทรัพยากรชีวภาพท้องถิ่น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/11/2564 9:30:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร หรือประชาชนผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส  เชิงปัญญา
อาจารย์ ดร. จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 65-3.1.4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการที่รัฐบาลเล็งเห็นถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการเป็นฐานการผลิตทางด้านการเกษตร จึงมีการบรรจุเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 เพื่อให้เกิดการรักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ มีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและการสร้างรายได้จากการอนุรักษ์ โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้พื้นถิ่น เพื่อการอนุรักษ์และเสริมสร้างอาชีพจากฐานทรัพยากรชีวภาพท้องถิ่น จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อตอบสนองต่อนโยบายของภาครัฐ เพื่อให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจจากความหลากหลายทางชีวภาพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยคาดหวังว่าเมื่อเสร็จสิ้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีแล้ว ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของความหลากหลายชีวภาพ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน และสามารถสร้างรายได้เสริมผ่านการใช้พืชกล้วยไม้เป็นต้นแบบ ซึ่งเป็นพืชที่มีความหลากหลายสูงในประเทศไทย อีกทั้งกล้วยไม้สามารถใช้เป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของป่าได้ และเป็นหนึ่งในพืชที่ได้รับพระราชดำริให้อนุรักษ์ไว้อีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้พื้นฐานเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเศรษฐกิจจากความหลากหลายทางชีวภาพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ และฟื้นฟู
2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้แก่ชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ เพื่อการอนุรักษ์และเสริมสร้างอาชีพจากฐานทรัพยากรชีวภาพท้องถิ่น
KPI 1 : จำนวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้แก่ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์กล้วยไม้พื้นถิ่นในพื้นที่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ เพื่อการอนุรักษ์และเสริมสร้างอาชีพจากฐานทรัพยากรชีวภาพท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ
2. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3. การให้คำปรึกษาและติดตามผล
4. สรุปผลโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 1.2 x 3.0 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 540 บาท เป็นเงิน 540 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,340.00 บาท 0.00 บาท 8,340.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 5,400 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษเอสี่ ปากกาเมจิก ปากกาไวท์บอร์ด ฯลฯ เป็นเงิน 5,660 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์สี่สี ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
3. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น วุ้น อาหารเพาะเลี้ยง แอลกอฮอล์ ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
4. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงพลาสติกร้อน แก้วพลาสติก ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,660.00 บาท 0.00 บาท 30,660.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล