17591 : ชุดโครงการสำรวจ จัดจำแนก ปลูกรักษาและศึกษาการเจริญเติบโต กล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้พระราชทาน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
อาจารย์วินัย แสงแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/1/2565 12:55:21
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  0  คน
รายละเอียด  1. สำรวจและจัดจำแนกกล้วยไม้ใน ๒ พื้นที่คือ พื้นที่สวนนายวิเชียร บุญธรรม ที่มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๒๐๘ ถนนเชียงใหม่-เชียงราย หมู่ที่ ๑ ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่สวนของนายชาญชัย จันทร์หอม มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๕๔ หมู่ที่ ๓ ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2.ได้ฐานข้อมูลกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้พระราชทานจากพื้นที่อนุรักษ์ทั้ง ๒ พื้นที่ คือ พื้นที่สวนนายวิเชียร บุญธรรม ที่มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๒๐๘ ถนนเชียงใหม่-เชียงราย หมู่ที่ ๑ ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่สวนของนายชาญชัย จันทร์หอม มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๕๔ หมู่ที่ ๓ ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 3.จัดแบ่งชนิด/สายพันธุ์กล้วยไม้จาก ๒ พื้นที่คือ พื้นที่สวนนายวิเชียร บุญธรรม ที่มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๒๐๘ ถนนเชียงใหม่-เชียงราย หมู่ที่ ๑ ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่สวนของนายชาญชัย จันทร์หอม มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๕๔ หมู่ที่ ๓ ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โดยนำมาเพาะเลี้ยงในพื้นที่ ในพื้นที่ โครงการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4.ได้ข้อมูลด้านการเจริญเติบโตและชีพจักรของกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานที่นำเพาะปลูก 2 ในพื้นที่ คือ พื้นที่สวนนายวิเชียร บุญธรรม ที่มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๒๐๘ ถนนเชียงใหม่-เชียงราย หมู่ที่ ๑ ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่สวนของนายชาญชัย จันทร์หอม มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๕๔ หมู่ที่ ๓ ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี พ.ศ. 2565 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวด เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2565 400,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วินัย  แสงแก้ว
อาจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
ดร. สุรชัย  ศาลิรัศ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65 AP องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 65 AP ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรได้ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สังคม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ตลอดถึงการพัฒนาองค์ความรู้และผลักดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้รับพระราชทานกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในคราวเสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นองค์ประธานเปิดงาน ประชุมวิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ระดับภูมิภาคครั้งที่ ๓ วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ โรงเรียนนนทบุรีวิทยาลัย จังหวัดนนทบุรี จากการถวายกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้จากนายวิเชียร บุญธรรม ที่มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๒๐๘ ถนนเชียงใหม่-เชียงราย หมู่ที่ ๑ ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และนายชาญชัย จันทร์หอม มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่ ๕๔ หมู่ที่ ๓ ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้เพาะอนุรักษ์พันธุ์ในพื้นที่สวนผลไม้พื้นที่ประมาณ ๒๕ ไร่ มานานร่วม ๓๐ กว่าปี เป็นจำนวน ๑๒๗ สกุล (genus) ๘๑๐ ชนิด (species) ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ตามแนวนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) โดยให้มีแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องตามแผนแม่บทของ อพ.สธ. ครอบคลุมทั้ง ๘ กิจกรรม และ ๓ กรอบการดำเนินงาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้ทรัพยากรพันธุ์พืชกลุ่มนี้ต่อไป ในการนี้เบื้องต้นมีความจำเป็นที่จะต้องทำการสำรวจจัดจำแนกชนิดกล้วยไม้ที่เพาะเลี้ยงอยู่ทั้ง ๒ แหล่งพื้นที่ เพื่อการอนุรักษ์ การจัดทำฐานข้อมูล และนำมาเพาะเลี้ยงในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อการวางแผนการใช้ประโยชน์ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
เพื่อสำรวจชนิดและหรือสายพันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานจำนวน ๑๒๗ สกุล (genus) ๘๑๐ ชนิด (species) ของทั้ง ๒ แหล่งพื้นที่อนุรักษ์
เพื่อจัดทำฐานข้อมูลกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานที่ได้จากการสำรวจและจัดจำแนกทั้ง ๒ แหล่งพื้นที่อนุรักษ์
เพื่อเพาะขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานจากทั้ง ๒ แหล่งพื้นที่อนุรักษ์ นำมาเพาะปลูกในพื้นที่ โครงการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พื้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัย
เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและชีพจักรของกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานที่นำเพาะปลูกในพื้นที่ โครงการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พื้นที่ฟาร์มหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สำรวจและจัดจำแนกกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน
KPI 1 : ข้อมูลกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานที่ได้จากการสำรวจทั้ง 2 พื้นที่สวน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 ตัวอย่าง 200
KPI 2 : จำนวนตัวอย่างกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทานจาก 2 พื้นที่สวน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 ตัวอย่าง 200
ผลผลิต : ปลูกรักษาและศึกษาการเจริญเติบโตกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน
KPI 1 : ขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน 2 พื้นที่สวน มาปลูกเลี้ยงในพื้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ตัวอย่าง 100
KPI 2 : ศึกษาการเจริญเติบโตและชีพจักรของกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้พระราชทาน 2 พื้นที่สวน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ตัวอย่าง 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สำรวจและจัดจำแนกกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน
ชื่อกิจกรรม :
สำรวจและจัดจำแนกกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน 5 พื้นที่สวน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดพิมพ์หนังสือฐานข้อมูลกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พิมพ์สี่สี จำนวน 100 เล่ม (150 หน้า/เล่ม ) เล่มละ 750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท 75,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างจัดทำรูปเล่มต้นฉบับหนังสือฐานข้อมูลกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้พระราชทานจำนวน 1 รายการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 10 เล่ม ๆ ละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. หมึกคอมพิวเตอร์ 680 สีดำ จำนวน 5 กล่อง ๆ ละ 292 บาท รวมเป็นเงิน 1460 บาท
2. หมึกคอมพิวเตอร์ 680 สี จำนวน 10 กล่อง ๆ ละ 292 บาท รวมเป็นเงิน 2920 บาท
3. หมึกคอมพิวเตอร์ 30 A จำนวน 1 กล่อง ๆ ละ 2006 บาท รวมเป็นเงิน 2006 บาท
4. หมึกคอมพิวเตอร์ 975 X ดำ จำนวน 1 กล่อง ๆ ละ 4989 บาท รวมเป็นเงิน 4989 บาท
5. หมึกคอมพิวเตอร์ HP 17A ดำ จำนวน 4 กล่อง ๆ ละ 2200 บาท รวมเป็นเงิน 8800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,175.00 บาท 0.00 บาท 20,175.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน (กระดาษ A4) จำนวน 7 กล่อง ๆ ละ 575 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,025.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,025.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 117200.00
ชื่อกิจกรรม :
ปลูกรักษาและศึกษาการเจริญเติบโตกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้พระราชทาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วินัย  แสงแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.สุรชัย  ศาลิรัศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์  เครือคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงานเกษตร พื้นที่ 2 ไร่ ๆ ละ 5,000 จำนวน 5 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
1. ค่ากระถางปลูกกล้วยไม้ชนิดแบบแขวน จำนวน 513 ชุด ๆ 50 บาท เป็นเงิน 25,650 บาท
2. ค่าขุยมะพร้าวสับ จำนวน 239 กระสอบ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 11950 บาท
3. ค่าปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 73 กระสอบ ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 29,200 บาท
4. ค่าปุ๋ยละลายช้า จำนวน 25 กระสอบ ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 37,500 บาท
5. ค่าปุ๋ยเกล็ดทางใบจำนวน 10 กระสอบ ๆ ละ 1,600 บาท เป็นเงิน 16,000 บาท
6. ค่าสารกำจัดแมลง จำนวน 20 ขวด ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
7. ค่าหินภูเขาไฟ จำนวน 50 กระสอบ ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
8. ค่ากระถางเคลือบขนาดกว้าง 45 ซม. จำนวน 100 กระถาง ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
9. ค่าลวดเคลือบพลาสติกจำนวน 50 ม้วน ๆ ละ 220 บาท เป็นเงิน 11,000 บาท
10. ค่ากรรไกรตัดแต่งกิ่งจำนวน 20 อัน ๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
11. ป้ายติดชื่อพืชจำนวน 50 ห่อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
12. ผ้าคลุมวัชพืชขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 100 เมตร จำนวน 15 ม้วน ๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 52,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 150,000.00 บาท 32,800.00 บาท 232,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 282800.00
ผลผลิต : ปลูกรักษาและศึกษาการเจริญเติบโตกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
บูรณาการในวิชา วส 211 วิชาอนุกรมวิธาณและความหลากหลายของพืชสมุนไพร ,วส 462 วิชาวิทยาการเมล็ดพันธุ์พืชสมุนไพร, วส 341 หลักแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ของสาขาวิทยการสมุนไพร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ช่วงเวลา : 01/02/2565 - 30/09/2565
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และมีทักษะนอกห้องเรียน 80 บูรณาการในเนื้อหาการสอน
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล