17575 : ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.สุภาภรณ์ สิริกรม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/12/2564 9:28:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ กลุ่มเกษตรกร นักเรียน และผู้สนใจด้านการผลิตเห็ด และ ชุมชนในเขตพื้นที่ อำเภอสันทราย จ.เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดินปี 2565 บริการวิชาการ 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ปรีชา  รัตนัง
น.ส. สุภาภรณ์  สิริกรม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65 AP จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 65 AP ผลักดัน และส่งเสริมให้ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ภายใต้หน่วยงาน มีการพัฒนา สร้างความประทับใจ จากผู้เยี่ยมชมทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตเห็ดได้หลากหลายชนิด ทั้งเห็ดเมืองร้อนและเมืองหนาว ซึ่งชนิดเห็ดที่มีความสำคัญในเชิงพาณิชย์ เช่น เห็ดฟาง เห็ดสกุลนางรม เห็ดหูหนู เห็ดแชมปิญอง เห็ดหอม เห็ดบด เห็ดโคนน้อย เป็นต้น แหล่งผลิตมีกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศเนื่องจากมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อประโยชน์ในการผลิต และประการสำคัญประเทศไทย มีความหลากหลายของวัสดุสำหรับใช้เพาะเห็ด ได้แก่ ฟางข้าว ตอซัง ผักตบชวา ทะลายปาล์มน้ำมัน เปลือกถั่วเขียว กากถั่วเหลือง กากมันสำปะหลัง เปลือกฝักข้าวโพด ขี้เลื่อยไม้เนื้ออ่อน เป็นต้น ซึ่งความหลากหลายของวัสดุเพาะเห็ดทีมีในประเทศ เกษตรกรสามารถนำมาใช้เพื่อสร้างรายได้และลดการเผา ลดหมอกควัน ซึ่งแก้ปัญหาสภาพแวดล้อม มลภาวะทางอากาศได้ส่วนหนึ่ง เห็ดเป็นพืชที่ใช้น้ำน้อย ใช้พื้นที่น้อย อายุเก็บเกี่ยวสั้น เป็นอาหารที่ปลอดสารพิษ มีวิตามินและเกลือแร่อย่างครบถ้วนในภาวะเศรษฐกิจ ปัจจุบันอาหารประเภทเนื้อสัตว์มีราคาค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับอาหารที่เป็นผลผลิตจากพืชหรือเห็ด เพื่อเป็นการปรับตัวให้เข้ากับภาวะเศรษฐกิจ ผู้บริโภคจึงเลือกบริโภคพืชผักที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ทดแทนเนื้อสัตว์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเภทเห็ดซึ่งมีสารโปรตีนสูง โปรตีนของเห็ดจะไม่มีสารคอเรสเตอรอลที่เป็นอันตรายต่อระบบไหลเวียนโลหิต ประกอบกับเห็ดมีปริมาณธาตุโซเดียมค่อนข้างต่ำ จึงเป็นอาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคตับ โรคไต โรคหัวใจ และโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงผู้ที่ต้องการลดความอ้วน ผู้ป่วยหลังฟักฟื้น หรือผู้ต้องการบำรุงร่างกาย และที่สำคัญคือเห็ดบางชนิดสามารถป้องกันและรักษาโรคบางอย่างได้ จึงนับเป็นโอกาสของเกษตรกรและผู้ที่สนใจที่จะเพาะเห็ดผลิตอาหารเพื่อสุขภาพหรือประกอบอาชีพรองอาชีพเสริมหรืออาชีพหลัก ด้วยหลักการลดต้นทุนการผลิตด้วยวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตร โดยยึดหลักปรัชญาการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 สนับสนุนงานด้านการสอนวิชา พส 413 การผลิตเห็ด พส 291 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 1, พส 292 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 2, พส 393 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 3 พส 394 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 4 และ ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต ภาคเรียนที่ 2-2564 และภาคเรียนที่ 1-2565
7.2 พัฒนาให้ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ เป็นฐานเรียนรู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสาธิตด้านการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ ให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจจะนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพทั้งอาชีพหลักและอาชีพเสริม และเป็นฐานเรียนรู้ด้านการผลิตเห็ด ของนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งนักวิชาการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ตลอดจนชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย
7.3 ส่งเสริมการผลิตเห็ดเศรษฐกิจด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร โดยยึดหลักปรีชญาการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
KPI 1 : - ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : - ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : - ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 บาท 0.05
KPI 6 : - จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 200 100 จำนวน 500
KPI 7 : - ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : - ฐานเรียนรู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสาธิตการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 จำนวน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม : สาธิตการผลิตเห็ด ได้แก่ เห็ดนางรม เห็ดนางฟ้า เห็ดหลินจือ เห็ดลม และเห็ดขอนขาว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุภาภรณ์  สิริกรม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเพาะเห็ด เช่น ขี้เลื่อยไม้ยางพารา, รำละเอียด, ปูนขาว, ถุงพลาสติกเพาะเห็ด, แคลเซียม ยิปซั่ม ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณที่ได้รับมีจำนวนจำกัด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ดำเนินการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล