17553 : การมีส่วนร่วมในการศึกษารวบรวมกล้วยไม้พันธุ์ไทยแท้ที่มีกลิ่นหอม เพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ในการสกัดกลิ่นด้วยเชียร์บัตเตอร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.นิศานาถ มิตตะกัง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/2/2565 10:40:22
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  1.พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2.องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและชุมชน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน คณะผลิตกรรมการเกษตร ผลิตกรรมการเกษตร/งบประมาณแผ่นดิน/แผนงานพื้นฐาน/แผนรอง:แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยกรมนุษย์/ผลผลิต:ผลงานการให้บริการวิชาการ/กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์/แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม/งานบริการวิชาการแก่ชุมชน/กองทุนบริการวิชาการ/งบเงินอุดหนุน/เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ(อพ.สธ) เงินงบประมาณ ปี 2565 2565 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี  อัลเดรด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65 AP องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 65 AP ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรได้ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สังคม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ตลอดถึงการพัฒนาองค์ความรู้และผลักดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากผลกระทบในการตัดไม้ทำลายป่าซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของทรัพยากรต่างๆ ทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ถูกทำลายลงไปเป็นอย่างมากจนส่งผลกระทบต่อพันธุ์พืชและสัตว์หลายชนิดใกล้สูญพันธุ์รวมทั้ง พืชป่าหลายชนิดเริ่มหายากและใกล้สูญพันธุ์ โดยเฉพาะกล้วยไม้ป่าชนิดต่างๆ ถูกนำออกจากป่าซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยจนเกิดการสูญเสียความความหลากหลายของระบบนิเวศ เป็นผลมาจากการลักลอบนำทรัพยากรเหล่านี้เพื่อการค้าที่ผิดกฎหมาย ทั้งในระดับท้องถิ่นภายในประเทศ หรือลักลอบส่งออกไปยังต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นสาเหตุต้นๆ ของการลดลงอย่างต่อเนื่องของประชากรกล้วยไม้ในป่าธรรมชาติ จนถึงปัจจุบันการค้ากล้วยไม้ป่ายังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง รวมถึงปัญหาพื้นที่ป่าที่มีพื้นที่ลดลง จากการถูกบุกรุกแผ้วถาง ส่งผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมต่อจำนวนประชากรของกล้วยไม้ป่าที่ลดลงอย่างรวดเร็ว และหายากมากขึ้นในปัจจุบัน และสถานะกล้วยไม้ไทยหลายชนิดกำลังอยู่ในขั้นวิกฤติ กล้วยไม้เป็นพืชชนิดหนึ่งที่แสดงถึงความงดงาม และแสดงถึงคุณค่าทางจิตใจต่อมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องกับคุณค่าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และประเพณี กล้วยไม้มีความงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้งความหลากหลายของชนิดพันธุ์ สีสัน หรือ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จึงเป็นพืชที่ได้รับความสนใจจากผู้คนอย่างแพร่หลาย ซึ่งในอีกแง่มุมหนึ่ง กล้วยไม้ก็เป็นพืชที่ค่อนข้างมีความเสี่ยงสูงในการสูญพันธุ์ไปจากแหล่งอาศัยในธรรมชาติ โดยเฉพาะ “กล้วยไม้ไทย” ซึ่งเป็นพืชที่อาศัยตามป่าหรือแหล่งธรรมชาติและบางชนิดมีเฉพาะในท้องถิ่นนั้นๆ จึงเป็นสิ่งที่ควรหวงแหนและควรค่าแก่การอนุรักษ์เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากกล้วยไม้เป็นพืชที่มีความสำคัญในระบบนิเวศ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทุกพื้นที่ป่า ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นตัวชี้วัดถึงความสมบูรณ์ของพื้นที่นั้นๆ นอกจากนั้นการนำกล้วยไม้พันธุ์ไทยพันธุ์แท้ มาปรับปรุงสายพันธุ์เพื่อให้มีความสวยงาม และมีลักษณะที่ดีขึ้นจากสภาพธรรมชาติเพื่อสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจ ประเด็นสำคัญกล้วยไม้อีกจำนวนมากที่ยังสามารถนำมารับประทานได้ เนื่องจากมีสรรพคุณทางยาในการรักษาอาการต่างๆ ได้ และสามารถนำกลิ่นมาใช้ในการนำไปสู่สารตั้งต้นของอุตสาหกรรมสุขภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2 เพื่อรวบรวมกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่มีกลิ่นหอมและอนุรักษ์นอกถิ่นอาศัยเพื่อศึกษาการเจริญเติบโต
3 เพื่อศึกษาวิธีการดูดซับสารหอมของกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่ให้กลิ่นหอมเพื่อนำไปใช้เป็นวัตถุดิบทางอุตสาหกรรมสุขภาพ
4 เพื่อศึกษาวิธีการเก็บรักษาสารหอมในไลโพโซมของกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่ให้กลิ่นหอมเพื่อนำไปใช้เป็นวัตถุดิบทางอุตสาหกรรมสุขภาพ
5 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การรวบรวมกล้วยไม้ไทยที่มีกลิ่นหอม เพื่อการอนุรักษ์และการนำไปใช้ประโยชน์
KPI 1 : ผลของการดำเนินงานที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : โครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนชนิดพันธุ์กล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ชนิด 10
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.2 ร้อยละ 0.2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การรวบรวมกล้วยไม้ไทยที่มีกลิ่นหอม เพื่อการอนุรักษ์และการนำไปใช้ประโยชน์
ชื่อกิจกรรม :
- รวบรวมกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่มีกลิ่นหอมและอนุรักษ์นอกถิ่นอาศัยเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตเต็มที่
- เพื่อศึกษาวิธีการสกัดสารหอมในกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่ให้กลิ่นหอมเพื่อนำไปใช้เป็นวัตถุดิบทางอุตสาหกรรมสุขภาพ
- เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
- การศึกษาวิธีการใช้ไลโพโซมบรรจุกลิ่นหอมจากกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้เพื่อนำไปใช้เป็นวัตถุดิบทางอุตสาหกรรมสุขภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.อรุณี คงดี  อัลเดรด (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.วัชราภรณ์  สุขขี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายบุญตัน  สุเทพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.จีระนันท์  ตาคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิศานาถ  มิตตะกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาช่วยปฎิบัติงานโครงการ
-ดูแลและเก็บข้อมูลลักษณะการเจริญเติบโตสันฐานวิทยาของกล้วยไม้
-ดูดซับกลิ่นกล้วยไม้จากเชียร์บัตเตอร์
-จัดทำเอกสารรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ต่างๆ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 79,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 79,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการเก็บข้อมูล
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำสติ๊กเกอร์ติดขวดโลชั่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารฝึกอบรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆ ละ 35 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,050.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,050.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล 1 ป้าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาปฏิบัติงานโครงการ
-เตรียมสารละลายสำหรับทำไลโพโซม
-ทำไลโพโซม
-ทำไลโพโซมกลิ่นกล้วยไม้ 10 ชนิด
-การทำโลชั่นที่มีกลิ่นกล้วยไม้ 10 ชนิด เป็นส่วนประกอบ
-การศึกษาความเสถียรของโลชั่นที่มีกลิ่นกล้วยไม้ 10 ชนิด เป็นส่วนประกอบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน 1 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวม 600 บาท
2.ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน 2 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท รวม 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 36,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,450.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
กิจกรรมในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการของโครงการไม่สามารถรับผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้จำนวนมาก เนื่องจากสถานการณ์โควิท 19
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการรับผู้เข้าร่วมอบรมตามความเหมาะสม มีการเว้นระยะห่างตามมาตรการของโรคระบาด
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล