17552 : โครงการสำรวจชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่เจริญเติบโตได้ดีในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์ นาระทะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/11/2564 14:19:22
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/01/2565  ถึง  15/08/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  ครัวเรือนที่นิยมเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่น อำเภอละ 10 ครัวเรือน 15 อำเภอ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2565 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ(โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ) 2565 265,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ปรมินทร์  นาระทะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65 AP องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 65 AP ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรได้ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สังคม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ตลอดถึงการพัฒนาองค์ความรู้และผลักดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

วิถีชีวิตของคนท้องถิ่นกับการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้มีมาอย่างยาวนาน ด้วยสภาพแวดล้อมของภาคเหนือที่มีความเหมาะสมกับการปลูกกล้วยไม้ เนื่องจากมีสภาพอากาศที่หนาวเย็นที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้หลายชนิด ผู้คนท้องถิ่นจึงนิยมนำกล้วยไม้มาปลูกเลี้ยงยังบ้านเรือนของตนเพื่อไว้ชื่นชมความงามยามที่กล้วยไม้นั้นออกช่อดอกตามฤดูกาลผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนในแต่ละช่วงตามแต่ละชนิด ซึ่งสร้างความรู้สึกที่ผ่อนคลายและมีความสุข เมื่อเห็นต้นกล้วยไม้ที่ปลูกเลี้ยงไว้แทงช่อออกดอก รวมถึงการได้รับความชื่นชมจากผู้ที่พบเห็น สะท้อนให้เห็นถึงความใส่ใจดูแลของผู้เป็นเจ้าของเป็นอย่างดี กล้วยไม้มีความบอบบางต้องการการดูแลเอาใจใส่ แสดงให้เห็นถึงผู้ที่เป็นเจ้าของต้องเป็นผู้ที่มีใจรักในการดูแลต้นกล้วยไม้นั้นเช่นกัน การเจริญเติบโตของกล้วยไม้ที่มีการปลูกเลี้ยงในพื้นที่เฉพาะนั้น การที่จะปลูกเลี้ยงให้มีชีวิตอยู่ได้จำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง เช่น ชนิดและพันธุ์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ลักษณะของการปลูกเลี้ยง วัสดุปลูกหรือต้นไม้ที่กล้วยไม้ชนิดนั้นอิงอาศัยอยู่ รวมถึงการดูแลเอาใจใส่ในการรดน้ำให้ปุ๋ยต่างๆ จากเจ้าของผู้ปลูกเลี้ยง ซึ่งปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวล้วนมีส่วนให้ต้นกล้วยไม้แตกกอเจริญงอกงามและมีชีวิตอยู่ได้ตามสภาพกึ่งธรรมชาติ โดยลักษณะของการปฏิบัติตามปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวสามารถศึกษาและบันทึกเป็นองค์ความรู้ในการปลูกเลี้ยงที่ไม่ได้ตรงตามแบบแผนของการปลูกเลี้ยง แต่เป็นลักษณะของการปฏิบัติตามที่ผู้ปลูกเลี้ยงแบบท้องถิ่นสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเองแบบง่ายๆ และส่งผลให้ต้นกล้วยไม้นั้นเจริญงอกงามได้ดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์พันธุกรรมของกล้วยไม้ท้องถิ่นซึ่งมีโครงการต่างๆ ที่จัดตั้งขึ้นและแสดงถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้ เช่น โครงการคืนชีวิตกล้วยไม้ไทยสู่ไพรพฤกษ์ โครงการกล้วยไม้ของคณะผลิตกรรมการเกษตร และโครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้พระราชทาน ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จะเห็นได้ว่ากล้วยไม้เป็นพืชที่มีความสำคัญในการอนุรักษ์ให้คงอยู่กับท้องถิ่นและในธรรมชาติต่อไปเพื่อไม่ให้เกิดการสูญพันธุ์ไปในอนาคต การศึกษาเพื่อสำรวจชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่มีการปลูกเลี้ยงในครัวเรือนนี้จะมุ่งเน้นการปลูกเลี้ยงแบบทั่วไปที่ไม่ได้เป็นการปลูกเลี้ยงแบบเชิงธุรกิจใด ๆ โดยปลูกเลี้ยงจากความชื่นชอบของผู้เป็นเจ้าของ หรือปลูกเลี้ยงโดยไม่ได้ตั้งใจ แต่ก็ทำให้ต้นกล้วยไม้ที่มีอยู่ในครอบครองนั้นเจริญเติบโตแตกกอได้เป็นอย่างดี สมควรที่จะบันทึกข้อมูลการปลูกเลี้ยงไว้เพื่อให้ทราบว่ามีต้นกล้วยไม้ชนิดและพันธุ์ใดบ้างที่มีการปลูกเลี้ยงในสภาพบ้านเรือนทั่วไป เพื่อในอนาคตหากจำเป็นที่จะต้องจัดหาพันธุ์กล้วยไม้มาขยายพันธุ์เพื่อการอนุรักษ์ จะสามารถนำต้นพันธุ์ของกล้วยไม้จากผู้ปลูกเลี้ยงในครัวเรือนต่าง ๆ มาทำการเพาะพันธุ์เพื่อขยายสู่ธรรมชาติต่อไปได้ ผู้ดำเนินโครงการคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการสำรวจชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่เจริญเติบโตได้ดีในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จะเป็นประโยชน์ต่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยเฉพาะกล้วยไม้ที่เป็นพืชที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ในอนาคตให้คงอยู่ จากพื้นฐานของการปลูกเลี้ยงที่เป็นวิถีชีวิตของคนท้องถิ่นให้ยังคงอยู่ต่อไป นอกจากนั้นหากการสำรวจพบว่า มีประเด็นของการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ที่พบว่ามีต้นกล้วยไม้จากแหล่งใดที่มีการปลูกเลี้ยงให้มีสภาพสมบูรณ์ควรแก่การดูแลรักษาให้คงอยู่แต่มีความเสี่ยงที่จะเกิดการเสียหายจากผลกระทบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นลักษณะสภาพแวดล้อมในการปลูกเลี้ยง เสี่ยงต่อการถูกทำลายจากการปรับเปลี่ยนพื้นที่บริเวณที่มีการปลูกกล้วยไม้นั้นไปในลักษณะอื่นที่จะส่งผลให้ต้นกล้วยไม้นั้นต้องถูกทำลาย จะได้ดำเนินการหาแนวทางในการจัดการช่วยเหลือต้นกล้วยไม้นั้นให้คงอยู่ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อสำรวจ แล้วทำการบันทึกจัดเก็บข้อมูลชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่เจริญเติบโตได้ดีในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือนของจังหวัดเชียงใหม่
เพื่อถอดองค์ความรู้การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่นที่เจริญเติบโตได้ดีในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือนของจังหวัดเชียงใหม่
เพื่อเปรียบเทียบจำนวนชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือนของจังหวัดเชียงใหม่
เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงต่อการถูกทำลาย และแนวทางการอนุรักษ์ต้นกล้วยไม้ท้องถิ่นที่เจริญเติบโตได้ดีในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือนของ จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานข้อมูลชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือน
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 ฐานข้อมูลชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
150 ครัวเรือน 150
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 2 อำเภอในจังหวัดเชียงใหม่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 อำเภอ 15
ผลผลิต : ข้อมูลการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในแบบครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 ข้อมูลการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในแบบครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 75 ชนิด 150
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานข้อมูลชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในการปลูกเลี้ยงแบบครัวเรือน
ชื่อกิจกรรม :
สำรวจครัวเรือนที่มีการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2565 - 15/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์  นาขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ชรินทร์ทิพย์  โกฎิแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจครัวเรือนที่มีการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 75,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 19,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 103000.00
ชื่อกิจกรรม :
รวบรวมองค์ความรู้การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2565 - 15/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์  นาขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ชรินทร์ทิพย์  โกฎิแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารวบรวมองค์ความรู้การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
ผลผลิต : ข้อมูลการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในแบบครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
วิเคราะห์ข้อมูลชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นและปัจจัยความเสี่ยงต่อการถูกทำลาย และแนวทางการอนุรักษ์ก้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในจังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2565 - 15/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรมินทร์  นาระทะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.รัชชานนท์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผานิตย์  นาขยัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ชรินทร์ทิพย์  โกฎิแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ข้อมูลชนิดของกล้วยไม้ท้องถิ่นที่นิยมปลูกเลี้ยงในจังหวัดเชียงใหม่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงต่อการถูกทำลาย และแนวทางการอนุรักษ์กล้วยไม้ท้องถิ่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท 32,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 82000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. ความล่าช้าของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
2. ขั้นตอนในการดำเนินงานด้านเอกสารมีความซับซ้อน อาจทำให้ระยะเวลาในการดำเนินงานลดลง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. ดำเนินงานในขั้นตอนอื่นก่อน โดยไม่จำเป็นต้องใช้เงินงบประมาณ
2. ลดขั้นตอนในการสำรวจและรวบรวมองค์ความรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับระยะเวลาดำเนินงาน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล