17542 : การพัฒนาลำลูกกล้วยไม้ เพื่อผลิตภัณฑ์อาหารในการสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ดร.ณิชมน ธรรมรักษ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/11/2564 14:52:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/11/2564  ถึง  31/08/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน งบประมาณโครงการบริการวิชาการภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2565 270,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ชมัยพร  นิธิกาจณ์พานิช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน  ชื่นบาล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภรัตน์  นาคสิทธิพันธุ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4.การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพาณิชย์ และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ สร้างกลุ่มนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านบริการวิชาการ งานวิจัย และนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 1.4 ร้อยละผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และเชิงสาธารณะ
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กล้วยไม้เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญของไทย เนื่องจากมีลักษณะดอกและสีสันลวดลายสวยงาม ส่งออกขายต่างประเทศทำรายได้เข้าประเทศปีละหลายร้อยล้านบาท มีการปลูกเลี้ยงอย่างครบวงจร ตั้งแต่การผสมเกสร เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เลี้ยงลูกกล้วยไม้ เลี้ยงต้นกล้วยไม้จน กระทั่งให้ดอก ตัดดอก บรรจุหีบห่อและส่งออก กล้วยไม้นอกจากจะเลี้ยงเพื่อความสวยงาม และเพื่อการส่งออกแล้ว กล้วยไม้ยังสามารถนำมาประยุกต์ หรือก่อให้เกิดประโยชน์ หรือสามารถนำมาเพิ่มมูลค่าได้ ในหลายๆ ด้าน เช่น ด้านใช้สอย ลำลูกกล้วยไม้ (Pseodobulbs) มีสารอาหารและเส้นใยมาก สามารถนำมาผลิตเป็นส่วนผสมอาหาร หรือใช้เส้นใยในการทอผ้าได้ หรือทำเป็นผลิตภัณฑ์แป้งเสริมความงามที่มีส่วนผสมของผงเกสรจากกล้วยไม้ หรือ สารสกัดจากลำลูกกล้วยของกล้วยไม้ว่านเพชรหึง (Grammatophyllum speciosum Blume) สามารถใช้เป็นส่วนประกอบในเวชภัณฑ์เครื่องสำอางในการลดริ้วรอย (Chowjarean et.al, 2019) นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ด้านการรักษาโรค กล้วยไม้หลายชนิดมีคุณสมบัติเป็นยา เช่น เอื้องคำ (Dendrobium chrysotoxum) ใช้ส่วนลำลูกกล้วย และใบ นำมาต้มเพื่อใช้เป็นยาชูกำลัง และลดไข้ได้ เอื้องเก๊ากิ๊ว (Dendrobium nobile) ใช้ลำต้นและใบ นำมาต้มเพื่อใช้เป็นยาบำรุง รักษากระเพาะอาหาร (Zhao, 2003) วัณโรคปอด ไข้ และอาการเบื่ออาหาร (Chauhan,1999) เอื้องไอยเรศ (Rhynchostylis retusa) ใช้รากในการรักษาโรคบิด (Das et.al, 2008) หรือใช้ใบแปะเพื่อรักษาบาดแผล (Dcorani and Sharma, 2007) เป็นต้น ลำลูกกล้วยไม้โดยเฉพาะสกุลหวายที่อายุมากให้ผลผลิตดอกน้อย ไม่คุ้มที่จะเลี้ยงตัดดอกเพื่อส่งไปขายเป็นกล้วยไม้ได้ แต่ลำลูกกล้วยไม้ที่อายุมากสามารถที่จะส่งขายเพื่อแปรรูปทำยาสมุนไพรได้ สำหรับสรรพคุณมีตั้งแต่ กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย ยับยั้งการแพร่กระจายของเนื้อร้าย เสริมสร้างการมองเห็น และ กระตุ้นสรรถนะทางเพศ โดยการหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ นำไปตากแห้ง รับประทานโดยการชงกับน้ำร้อนแบบเดียวกับชา นอกจากนี้ ชาวจีนยังนำดอกกล้วยไม้บางพันธุ์ ตัวอย่าง เช่น Dendrobium chrysotoxum มาตากแห้งแล้วชงเป็นเครื่องดื่มเรียกว่า "ชาดอกกล้วยไม้" ซึ่งเป็นชาชนิดพิเศษสุด มีค่ามากและหายาก ชาชนิดนี้ดื่มแล้วทำให้นอนหลับสบาย ช่วยลดความดันโลหิต และทำให้ฟื้นฟูร่างกายกลับคืนมาอย่างรวดเร็ว การศึกษาครั้งนี้ เพื่อเป็นการพัฒนาลำลูกกล้วยไม้ให้เพิ่มมูลค่าเชิงพานิชย์ โดยการแปรรูปลำลูกกล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium) เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เป็นการเพิ่มมูลค่าทางการเกษตรให้มากยิ่งขึ้น และยกระดับการดำรงชีวิตของเกษตรกรให้มีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น รวมทั้งผู้ประกอบการที่สนใจการใช้ประโยชน์จากกล้วยไม้ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสภาพสังคมในชุมชนเกิดความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และจะส่งผลกระทบทางบวกต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และสังคมของไทยในภาพรวมได้ในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมสุขภาพจากลำลูกกล้วยไม้เอื้องคำ
KPI 1 : ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมสุขภาพจากลำลูกกล้วยไม้เอื้องคำ (Dendrobium chrysotoxum)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 2 : กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 3 : จำนวนรายวิชาที่ประยุกต์ใช้โครงการฯ ในการเรียนการสอน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รายวิชา 1
KPI 4 : ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการและความเป็นพิษในระดับเซลล์ของลำลูกกล้วยไม้เอื้องคำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุดข้อมูล 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมสุขภาพจากลำลูกกล้วยไม้เอื้องคำ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมสุขภาพจากลำลูกกล้วยไม้เอื้องคำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2564 - 31/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ชมัยพร  นิธิกาจณ์พานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมา ในวงเงิน 62,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
15,000.00 บาท 47,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 62,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ ในวงเงิน 182,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
50,000.00 บาท 80,000.00 บาท 52,500.00 บาท 0.00 บาท 182,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 245000.00
ชื่อกิจกรรม :
การประชุมสัมมนา หรือฝึกอบรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2564 - 31/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ชมัยพร  นิธิกาจณ์พานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 30 คน x 2 มื้อ x 25 บาท x 1 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 1 มื้อ x 80 บาท x 1 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ ในวงเงิน 21,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,100.00 บาท 21,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25000.00
ชื่อกิจกรรม :
สรุปและรายงานผล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ชมัยพร  นิธิกาจณ์พานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รุ่งเรือง  โพธิ์สิงห์ทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล