17513 : โครงการศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (65-2.6.4)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/7/2565 21:29:50
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา นักวิชาการ นักวิจัยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน
แผนงานพื้นฐาน
แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผลการให้บริการวิชาการ
กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์
แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม
งานบริการวิชาการแก่ชุมชม
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)
2565 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตย์  ธาราฉาย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.7(64-68)-FAED การให้บริการวิชาการอย่างมืออาชีพ
ตัวชี้วัด 2.20FAED65 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ FAED-2.7.1(64-68) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นตามบริบท อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การบริการวิชาการ การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 2.8(64-68)-FAED การพัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 2.21FAED65 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-2.8.3(64-68) จัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลโครงการบริการวิชาการของคณะ
ตัวชี้วัด 2.18FAED65 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.8.1(64-68) สนับสนุนการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมากขึ้น และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 ดำเนินงานทั้งในรูปแบบงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ซึ่งพบว่ามีการจัดทำรายงานประจำปี การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานมาโดยตลอด ทำให้มหาวิทยาลัยมีข้อมูลที่ได้จากการวิจัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ ชนิดพันธุ์ต่างๆ ทั้งพืช สัตว์ จุลินทรีย์ รวมทั้งภูมิปัญญาในการใช้ประโยชน์ทรัพยากร แต่ข้อมูลเหล่านั้นยังคงอยู่ในเล่มรายงานวิจัยหรือเอกสารตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานตามวารสารต่างๆ อย่างไรก็ตาม ณ ปัจจุบันยังขาดคือการรวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลของทรัพยากรชีวภาพอย่างเป็นระบบ ทำให้การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์และต่อยอดในงานอื่นๆ ยังทำได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ดังนั้นเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการจัดการข้อมูล การตระหนักถึงคุณค่าและการนำมาใช้ประโยชน์ของทรัพยากร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ทั้งนักวิจัยภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และประโยชน์กับการเรียนรู้ การวิจัยของนักศึกษาและนักวิจัยทั่วไป อีกทั้งในปัจจุบันข้อมูลทางด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและคุณค่าทางความหลากหลายทางชีวภาพเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญอย่างมาก จะเห็นได้จากในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียว การจัดอันดับ SDGs หรืออื่นๆ ที่เป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ล้วนต้องการให้นำเสนอข้อมูลด้านทรัพยากรที่มหาวิทยาลัยช่วยดูแล อนุรักษ์ ดังนั้นจึงเห็นว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งจัดทำศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
3. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรพันธุกรรมชีวภาพด้านการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
4. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรัพยากรชีวภาพและกายภาพ ให้แก่นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าชมและใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 ครั้ง 200
KPI 2 : การดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : การดำเนินงานตามงบประมาณที่กำหนด
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมพัฒนาศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมชีวภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา  ตั้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างผู้ประสานงานโครงการ
(15,000 บาท x 9 เดือน)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท 135,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 135000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับรูปแบบการจัดการและนำเสนอข้อมูลพันธุกรรมชีวภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง (240 บาท x 2 วัน x 1 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 480.00 บาท 0.00 บาท 480.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 58,720.00 บาท 0.00 บาท 58,720.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 65000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล