17512 : โครงการแนวทางการอนุรักษ์พืชสมุนไพรหายากและใกล้สูญพันธุ์ในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชป่าบ้านโปง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (65-2.6.3)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/6/2566 2:22:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เยาวชน เกษตรกร หมอยาพื้นบ้าน และชาวบ้านในชุมชนบ้านโปง บ้านแม่โจ้ และผู้สนใจทั่วไป นักเรียน นักศึกษา ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนบน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน
แผนงานพื้นฐาน
แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผลการให้บริการวิชาการ
กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์
แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม
งานบริการวิชาการแก่ชุมชม
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)
2565 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตย์  ธาราฉาย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.7(64-68)-FAED การให้บริการวิชาการอย่างมืออาชีพ
ตัวชี้วัด 2.20FAED65 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ FAED-2.7.1(64-68) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นตามบริบท อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การบริการวิชาการ การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 2.8(64-68)-FAED การพัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 2.21FAED65 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-2.8.3(64-68) จัดทำฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลโครงการบริการวิชาการของคณะ
ตัวชี้วัด 2.18FAED65 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ FAED-2.8.1(64-68) สนับสนุนการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมากขึ้น และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สมุนไพรพื้นบ้านแต่ละท้องถิ่น ล้วนมีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้ สมุนไพรพื้นบ้านของล้านนา เป็นอีกตำหรับหนึ่งที่มีการรวบรวมไว้อย่างชัดเจน มีวิธีการใช้ที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งพบว่ามีหลายชนิดได้ถูกนำมาพัฒนาเป็นยารักษาโรคสมัยใหม่ไปบ้าง อย่างไรก็ตาม ยังมีสมุนไพรอีกหลายชนิดที่เป็นพืชท้องถิ่นของล้านนา พบในป่าธรรมชาติ มีการนำมาใช้ประโยชน์ตามภูมิปัญญา แต่ปัจจุบันอาจมีการสืบทอดการใช้งานน้อย ทำให้คนรู้จักพืชสมุนไพรชนิดนั้นๆ น้อยลง และเมื่อสภาพป่าและระบบนิเวศน์เปลี่ยนไป สมุนไพรบางชนิดก็ค่อยๆ หายไปจากพื้นที่ป่า ด้วยผู้คนไม่ทราบว่ามีประโยชน์ และเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ไปกับการเปลี่ยนแปลงสภาพป่าหรือมีการเกิดไฟไหม้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีแนวคิดเพื่อการอนุรักษ์และแนวทางการขยายพันธุ์เพื่อเก็บรักษาพันธุ์พืชสมุนไพรที่มีประโยชน์ แต่อยู่สภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ในพื้นที่ธรรมชาติ ด้วยการต่อยอดจากโครงการเก็บรวบรวมพืชสมุนไพรในพื้นที่ป่าบ้านโปง ซึ่งเป็นชุมชนในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรป่าและมีการบันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องการใช้ไว้ แต่พบว่ามีสมุนไพรหลายชนิดมีสรรพคุณที่น่าสนใจแต่การขยายพันธุ์ค่อนข้างยาก จึงเป็นคำถามว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถอนุรักษ์สมุนไพรเหล่านั้นไว้เพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนและไม่สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติ ตัวอย่าง เช่น กำลังไก่แจ้ ขางหัวเหล็ก เฒ่าลืมเต๊า มะเขือแจ้เครือ หญ้าข้าวก่ำ หญ้าเลือดไน่ เป็นต้น เนื่องจากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการบูรณาการการวิจัยและบริการวิชาการ ดังนั้นในโครงการนี้นอกจากการวิจัยด้านพืชสมุนไพรหายากแล้ว องค์ความรู้ที่ได้รับจาการศึกษายังจะได้รับการต่อยอดเพื่อถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ นักเรียนนักศึกษาและชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์พืชสมุนไพรหายาก ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของล้านนา
3. เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์สมุนไพรหายากของท้องถิ่นล้านนา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แนวทางการอนุรักษ์พืชสมุนไพรหายากและใกล้สูญพันธุ์ ในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชป่าบ้านโปง มหาวิทยาลัย
KPI 1 : จำนวนชนิดสมุนไพรที่ทำการศึกษาวิจัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 ชนิด 20
KPI 2 : จำนวนผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : จำนวนผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 4 : องค์ความรู้ที่ได้รับจากการวิจัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 5 : จำนวนผลงานที่นำไปบูรณาการกับการเรียนการสอน และงานวิจัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ชิ้นผลงาน 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แนวทางการอนุรักษ์พืชสมุนไพรหายากและใกล้สูญพันธุ์ ในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชป่าบ้านโปง มหาวิทยาลัย
ชื่อกิจกรรม :
การวิจัย : แนวทางการอนุรักษ์พืชสมุนไพรหายากและใกล้สูญพันธุ์ในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชป่าบ้านโปง มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์  ธาราฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรี  เหมสันต์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทดสอบ จัดเก็บ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล (1 คนx 45,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาปรับพื้นที่แปลงเพาะขยายพันธุ์สมุนไพร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
3. ค่าจ้างเหมาเพาะขยายพันธุ์เก็บรวบรวมสมุนไพรและพืชท้องถิ่น (45,000 x 1 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 70 บาท x 2 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 30 บาท x 2 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 300000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชาสรีรวิทยาของพืชสำหรับงานภูมิทัศน์ และวัสดุพืชพรรณและการเลือกใช้
ช่วงเวลา : 22/11/2564 - 30/09/2565
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล