17473 : แลกเปลี่ยนความรู้สู่วิสาหกิจชุมชนดิจิทัล (การตลาด)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/1/2565 9:35:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/01/2565  ถึง  31/03/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  119  คน
รายละเอียด  บุคลากร นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา กต 324 การตลาดดิจิตอล จำนวน 119 คน จำนวนผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน จำนวน 10 ราย
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2565 4,250.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จักรพงษ์  สุขพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA65-G-17 มีแหล่งเรียนรู้/ฐานเรียนรู้ ด้านบริหารธุรกิจ และบริหารธุรกิจเกษตร
ตัวชี้วัด KPIBA 65-25 รายได้จากการให้บริการวิชาการ (อบรม ดูงาน ที่ปรึกษา วิทยากร ฯลฯ)
กลยุทธ์ BA65-S-49 ส่งเสริมและสนัสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
กลยุทธ์ BA65-S-50 ปรับปรุงกฎระเบียบ ข้อบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัยที่เอื้อต่อการแสวงหารายได้จากการให้บริการวิชาการ
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA65-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ BA65-G-22 มหาวิทยาด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด KPIBA 65-39 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ BA65-S-64 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurs) ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงในยุค Disruption เพราะเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินธุรกิจ ประกอบกับสถานการณ์ Covid-19 นั้นทำให้ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนเกิดปัญหาในการดำเนินธุรกิจเมื่อโครงสร้างทางการตลาดปรับรูปแบบไปอีก ทั้งผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนบางรายไม่สามารถปรับตัวได้ ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจของคณะบริหารธุรกิจ ที่มุ่งจะผลิตบัณฑิตทางด้านบริหารธุรกิจที่มีศักยภาพ มุ่งเน้นการช่วยเหลือชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ประกอบธุรกิจและเป็นสมาชิกในกลุ่ม Facebook เพจ “ฝากร้านเชิญหลังโดม” ดังนั้น โครงการนี้จึงถูกจัดขึ้นเพื่อให้พันธกิจของคณะบริหารธุรกิจบรรลุเป้าหมายและเพื่อผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา โดยนักศึกษาจะได้ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ไปช่วยเหลือชุมชน และศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ประกอบธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ศาสตร์การตลาดดิจิทัล ช่วยเหลือผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ที่เป็นสมาชิกในกลุ่มFacebook เพจ “ฝากร้านเชิญหลังโดม”
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้ประกอบการสามารถใช้เครื่องมือ Digital Marketing ประกอบการทำธุรกิจได้
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
119 คน 119
KPI 2 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : ผู้ประกอบการสามารถใช้เครื่องมือ Digital Marketing ประกอบการทำธุรกิจได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้ประกอบการสามารถใช้เครื่องมือ Digital Marketing ประกอบการทำธุรกิจได้
ชื่อกิจกรรม :
แลกเปลี่ยนความรู้สู่วิสาหกิจชุมชนดิจิทัล (การตลาด)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/01/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เป็นเงิน 4,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,250.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4250.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล