17470 : ก่อสร้างอาคารหมู่บ้านนักพัฒนาการเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Makers (VAM) ประจำปีงบประมาณ 2565
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/5/2565 14:03:10
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/05/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  3  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการ นักศึกษา และเกษตรกร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2565 945,880.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ นนท์  ปิ่นเงิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA65-G-16 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด KPIBA 65-22 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ BA65-S-45 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
เป้าประสงค์ BA65-G-17 มีแหล่งเรียนรู้/ฐานเรียนรู้ ด้านบริหารธุรกิจ และบริหารธุรกิจเกษตร
ตัวชี้วัด KPIBA 65-25 รายได้จากการให้บริการวิชาการ (อบรม ดูงาน ที่ปรึกษา วิทยากร ฯลฯ)
กลยุทธ์ BA65-S-49 ส่งเสริมและสนัสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
กลยุทธ์ BA65-S-50 ปรับปรุงกฎระเบียบ ข้อบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัยที่เอื้อต่อการแสวงหารายได้จากการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ภายใต้มาตรการช่วยเหลือหรือการอุดหนุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (Depa Digital Infrastructure Fund) เพื่อดำเนินโครงการหมู่บ้านนักพัฒนาเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Maker (VAM) รหัสโครงการ IG-64-0054 ตามสัญญา/บันทึกข้อตกลงเลขที่ MOA104/2564 ลงวันที่ 9 กรกฏาคม 2564 นั้น ซึ่งงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจะถูกนำมาใช้เพื่อจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานของโครงการให้มีความพร้อมเพื่อใช้พัฒนาผู้ประกอบการด้านเกษตรดิจิทัล ทั้งนี้ ผู้รับผิดชอบโครงการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการจ้างเหมาออกแบบอาคาร หมู่บ้านนักพัฒนาเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Maker (VAM) และดำเนินการขออนุญาตใช้พื้นที่การสร้างเป็นที่เรียบร้อย จึงมีความประสงค์จะดำเนินการก่อสร้างอาคารฯ เพื่อให้โครงการดำเนินไปตามขั้นตอนและบรรลุวัตถุประสงค์ตามบันทึกข้อตกลง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลให้เกิดการลงทุนหรือประกอบกิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลเกิดการนำไปใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบ การวิเคราะห์ การทดสอบ การสอบเทียบเครื่องมือ การทดลอง และพื้นที่เพื่อการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล ห้องปฏิบัติการ พื้นที่เพื่อการสร้างเครือข่ายธุรกิจอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล ระบบคอมพิวเตอร์แบบหมู่เมฆ (Cloud Computing) รวมทั้งอุปกรณ์ติดตั้ง/เครือข่าย และอื่นๆ
การก่อสร้างเพื่อให้การดำเนินงานโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมาย รวมถึงระบบ คอมพิวเตอร์แบบหมู่เมฆ (Cloud Computing) ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานและอุปกรณ์ประกอบการติดตั้ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : อาคารหมู่บ้านนักพัฒนาการเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Makers (VAM)
KPI 1 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : ร้อยละความสำเร็จในการก่อสร้างอาคารหมู่บ้านนักพัฒนาการเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Makers (VAM) ตามงวดงานที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 คน 3
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : อาคารหมู่บ้านนักพัฒนาการเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Makers (VAM)
ชื่อกิจกรรม :
ก่อสร้างอาคารหมู่บ้านนักพัฒนาการเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Makers (VAM) งวดที่ 1-2

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 12/05/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์นนท์  ปิ่นเงิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายลงทุน » ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
อาคารหมู่บ้านนักพัฒนาการเกษตรดิจิทัล Village of AgTech Makers (VAM)
งวดที่ 1 ร้อยละ 5 ของราคาก่อสร้างตามที่ตกลงตามสัญญา และ
งวดที่ 2 ร้อยละ 20 ของราคาก่อสร้างตามที่ตกลงตามสัญญา
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 945,880.00 บาท 945,880.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 945880.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล