17430 : พัฒนาศักยภาพนักการตลาดดิจิทัล (การตลาด)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/2/2565 9:36:52
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/02/2565  ถึง  31/03/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  119  คน
รายละเอียด  นักศึกษาวิชาเอกการตลาด ชั้นปีที่ 3 และศิษย์เก่าที่สนใจ จำนวน 119 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2565 1,800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จักรพงษ์  สุขพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA65-G-6 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด KPIBA 65-9 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ BA65-S-17 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตัวชี้วัด KPIBA 65-11 รายได้เริ่มต้นเฉลี่ยต่อเดือนของบัณฑิตระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ BA65-S-19 สนับสนุนให้นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายของมหาวิทยาลัยได้พบปะตลาดแรงงาน หรือพัฒนาระบบการจัดหางานให้แก่นักศึกษาเชิงรุก
เป้าประสงค์ BA65-G-8 นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด KPIBA 65-13 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ BA65-S-26 มีส่วนร่วมในการทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่จิด้ววยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ BA65-G-9 นักศึกษามีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการอย่างมืออาชีพ
ตัวชี้วัด KPIBA 65-14 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ BA65-S-30 ส่งเสริมการให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะกระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน ซึ่งมีการนำ Digital Technology เข้ามาปรับใช้กับทุกภาคส่วนขององค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสายงานด้านการตลาด ที่ต้องการส่งมอบสินค้าของกิจการให้ตรงกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อย่างไรก็ตามด้วยสภาวะการแข่งขันทางธุรกิจที่มีความรุนแรงในปัจจุบัน ธุรกิจส่วนใหญ่ดำเนินกิจกรรมทางการตลาดผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต และแพล๊ตฟอร์มทางการตลาดดิจิทัล ด้วยปัจจัยแวดล้อมดังกล่าวข้างต้นการวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาดจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้การดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของทางบริษัท การใช้ Google analytics จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการทำการตลาดในปัจจุบัน นอกจากนี้ทางสาขาวิชาการตลาด มุ่งเน้นให้นักศึกษามีทักษะในการนำเครื่องมือ และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจของคณะบริหารธุรกิจ ที่มุ่งจะผลิตบัณฑิตทางด้านบริหารธุรกิจและธุรกิจเกษตรที่มีศักยภาพ รวมทั้งมีความสามารถในการเป็นนักการตลาดอย่างมืออาชีพ โดยผ่านกระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ดังนั้น โครงการนี้จึงถูกจัดขึ้นเพื่อให้พันธกิจของคณะบริหารธุรกิจบรรลุเป้าหมายและเพื่อผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการตลาดดิจิทัล
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้พื้นฐานด้านการใช้งาน Google analytics และการรายงานผล
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้พื้นฐานด้านการใช้งาน Google analytics และการรายงานผล
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
119 คน 119
KPI 3 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้พื้นฐานด้านการใช้งาน Google analytics และการรายงานผล
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพการเป็นนักการตลาดดิจิทัล ของนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/02/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆ ละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล