17329 : โครงการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน: การสร้างเสริมทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกเพื่อปรับตัวต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์พีรดา ประจงการ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/9/2564 23:47:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/09/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมายภายในคือนักศึกษาในรายวิชา ศท 012 จิตวิทยากับพฤติกรรมมนุษย์ที่สนใจเข้าร่วม จำนวน 100 คน กลุ่มเป้าหมายภายนอกคือ สมาชิกครอบครัวของนักศึกษาจำนวน 100 คน รวมทั้งสิ้น 200 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่มีเบิกจ่ายงบประมาณ 2564 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พีรดา  ประจงการ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.10 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 MJU 2.1.19 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA64 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ LA64-2.1.2 เสริมสร้างทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ ส่งเสริมและผลักดันหลักสูตรให้มีการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
ตัวชี้วัด LA64-2.1.2-8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ LA64 2.1.2-3 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา
เป้าประสงค์ LA64-2.4.2 มีการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา
ตัวชี้วัด LA64-2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
กลยุทธ์ LA642.1.2-3. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากการดำรงชีวิตในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องมาเกือบจะ 2 ปี ส่งผลให้ประชาชนประสบปัญหาในการดำเนินชีวิตและปัญหาสุขภาพจิตที่เกี่ยวเนื่องกับการเผชิญความเครียดจากสถานการณ์ดังกล่าว เยาวชนในวัยเรียนประสบปัญหาความเครียดในการเรียนออนไลน์ การรักษาระยะห่างทางสังคมและการงดเว้นกิจกรรมทางสังคมเพื่อป้องการการแพร่ระบาดส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจในชีวิตที่ลดลง ความสุขในชีวิตลดลง กล่าวได้ว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นปัจจัยกระตุ้นภาวะความเครียดของทุกคนให้มากขึ้น รวมถึงความเครียดในระดับครัวเรือนก็เพิ่มมากขึ้น ผลการศึกษาสุขภาวะของประชาชนกลุ่มต่างๆ ในต่างประเทศพบว่า บุคคลที่สามารถปรับตัวต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้จะเป็นผู้ที่มีทุนจิตวิทยาเชิงบวกเพราะทุนจิตวิทยาเชิงบวกจะช่วยให้บุคคลฝ่าฟันสภาพการณ์ที่ยากลำยากได้อย่างเหมาะสม ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกเป็นความสามารถทางด้านจิตวิทยาเชิงบวกของบุคคล ซึ่งองค์ประกอบ คือ ความหวัง (Hope) การมองโลกในแง่ดี (Optimism) ความเชื่อในความสามารถของตนเอง (Self -efficacy) และความหยุ่นตัว (Resilience) บุคคลที่มีทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกจะสามารถจัดการกับความเครียดได้ดีกว่า มีความพึงพอใจในชีวิตมากกว่า มีความสุขมากกว่า และมีอารมณ์ทางบวกมากกว่า อีกนัยหนึ่งคือมีสุขภาวะทางจิตที่ดีกว่า ซึ่งจะให้ช่วยรับมือกับปัญหาหรือความท้าทายจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเหมาะสม ในการนี้จึงจัดให้มีการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนโดยจัดบริการวิชาการเชิงรุกเพื่อสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกแก่นักศึกษาและสมาชิกในครอบครัวของนักศึกษา โดยนักศึกษาที่สนใจเข้าร่วมโครงการจะได้รับความรู้และทำหน้าที่แนะนำการสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกแก่ครอบครัวและฝึกปฏิบัติสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกด้วยกันผ่านสื่ออบรมออนไลน์และเปิดพื้นที่ออนไลน์ให้ครอบครัวและนักศึกษามีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผลที่จะได้รับคือผู้เข้ารร่วมโครงการมีทุนจิตวิทยาเชิงบวกและปรับตัวที่ดี ส่งผลต่อการมีสุขภาวะที่ดี

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ให้ความรู้การสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกเพื่อปรับตัวต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ฝึกปฎิบัติสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกเพื่อการปรับตัวที่ดีต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวก
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวก ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกและปรับตัวได้ดีขึ้น
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 สามารถสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกและปรับตัวได้ดีขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวก
ชื่อกิจกรรม :
อบรมออนไลน์ให้ความรู้การสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกและวิธีการฝึกปฏิบัติการสร้างสร้างทุนจิตวิทยาเชิงบวก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/09/2564 - 14/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวกและปรับตัวได้ดีขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกปฏิบัติสร้างเสริมทุนจิตวิทยาเชิงบวก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/09/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีเบิกจ่ายงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล