17328 : SAS-64-โครงการบรรยายพิเศษด้านการบริหารจัดการภาครัฐ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.ศิริกานดา ไข่คำ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/10/2564 13:03:38
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/07/2564  ถึง  31/08/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  473  คน
รายละเอียด  1 นักศึกษารายวิชา รศ 423 พัฒนาการการเมืองท้องถิ่นไทย จำนวน 45 คน 2 นักศึกษารายวิชา รป 341 รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ จำนวน 95 คน 3 นักศึกษารายวิชา รป 432 การพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่สาธารณะ จำนวน 45 คน 4 นักศึกษารายวิชา รป 141 รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น จำนวน 265 คน 5 นักศึกษารายวิชา รป 511 องค์การและการจัดการสาธารณะ จำนวน 14 คน 6 นักศึกษารายวิชา บศ 711 ทฤษฎีและแนวคิดการบริหารและองค์การ จำนวน 9 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2564 3,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พิชญ์  จิตต์ภักดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.8 จำนวนหลักสูตร Lifelong Learning
กลยุทธ์ 64 MJU 2.1.17 พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ด้วยการพัฒนา Training Courses และ Open Courses ที่หลากหลาย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64 (1) จัดการศึกษาด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การระหว่างประเทศ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารกิจการสังคม
เป้าประสงค์ SAS 64 (1.2) บัณฑิตมีทักษะทางวิชาการและวิชาชีพตามที่หลักสูตรกำหนด
ตัวชี้วัด SAS-64 ร้อยละของบัณฑิต(ปริญญาตรี)ที่มีงานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ SAS 64 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะนักศึกษาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การศึกษาเป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อพัฒนาประเทศ และการศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องอาศัยการเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบทั้งการเรียนการสอนในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตทันต่อโลกปัจจุบัน และสามารถร่วมแก้ไขปัญหาสังคม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานเทียบเคียงกันในระดับสากล วิทยาบริหารศาสตร์ ได้จัดการศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณะ และ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารศาสตร์ เพื่อเป็นการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ด้านการเมืองการปกครองและการบริหารกิจการสังคม ไปพัฒนาทุกภาคส่วนของประเทศ โดยให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง จากผู้มีประสบการณ์ จากตัวอย่างหรือกรณีศึกษา การศึกษาดูงาน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะเพิ่มขึ้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษาได้ โดยหลักสูตรระดับปริญญาตรีได้มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจทางการเมืองการปกครองและการบริหารภาครัฐ รวมถึงสามารถประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาได้มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารองค์การ ตลอดจนบูรณาการองค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ จึงได้จัดโครงการบรรยายพิเศษด้านการบริหารจัดการภาครัฐ ในวันที่ 11 สิงหาคม 2564 และ วันที่ 18 สิงหาคม 2564 ผ่านระบบ Zoom Cloud Meeting เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ
เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ ประเด็นการประเมินองค์การ และ แนวคิดและหน้าที่ทางการบริหาร
KPI 1 : ค่าใช่จ่ายในการจัดโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3600 บาท 3600
KPI 2 : นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ ประเด็นการประเมินองค์การ และ แนวคิดและหน้าที่ทางการบริหาร เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละโครงการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐ ประเด็นการประเมินองค์การ และ แนวคิดและหน้าที่ทางการบริหาร
ชื่อกิจกรรม :
- บรรยายพิเศษหัวข้อ “การประเมินองค์การ”
- บรรยายพิเศษหัวข้อ “แนวคิดและหน้าที่ทางการบริหาร”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 11/08/2564 - 18/08/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พิชญ์  จิตต์ภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน 3 ชั่วโมง × 600 บาท × 2 ครั้ง
(วันที่ 11 สิงหาคม 2564 และวันที่ 18 สิงหาคม 2564)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล