17105 : โครงการพัฒนาผู้ประกอบการในด้านการออกแบบ ให้คำปรึกษา และบริการออกแบบ (Deal Design) (64-4.1.1)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/4/2564 17:05:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
23/04/2564  ถึง  23/04/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการ บัณฑิต หรือนักศึกษาที่อบรมเป็นผู้ประกอบการ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน -งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก- 2564 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ทำเนียบ  อุฬารกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 64 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 64 MJU 4.2 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 64 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 64 MJU 4.4 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่
กลยุทธ์ 64 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 64 MJU 4.5 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 64 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 64 MJU 4.6 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 64 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 64 MJU 4.7 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 64 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 64 MJU 4.9 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 64 MJU 4.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพอื่สนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพฒันาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4(64-67)-FAED การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 4.1(64-67)-FAED การสร้างกระบวนการสุ่การเรียนรู้ที่สอดคล้องศตวรรษที่ 21 : เทคโนโลยี/ นวัตกรรม/ วิถีอาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1FAED64 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.1(64-67) ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือที่ทันสมัยอย่างเหมาะสมกับสายวิชาชีพ ได้แก่ โปรแกรมที่ทันสมัย และระบบสารสนเทศที่พร้อมให้การรองรับ
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-67) การสร้างโครงงานการออกแบบที่บูรณาการหลายมิติ เพื่อกำหนดโจทย์อันนำไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างยั่งยืนจากพื้นที่จริง
ตัวชี้วัด 4.2FAED64 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ ธุรกิจใหม่
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-67) สร้างความชัดเจนในสายวิชาชีพของบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีสถานประกอบการรองรับการมีพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อการเรียนรู้ และการมีพี่เลี้ยงในสายวิชาชีพที่ให้คำแนะนำ และแนะแนวอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด 4.3FAED64 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-67) สร้างความชัดเจนในสายวิชาชีพของบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีสถานประกอบการรองรับการมีพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อการเรียนรู้ และการมีพี่เลี้ยงในสายวิชาชีพที่ให้คำแนะนำ และแนะแนวอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด 4.4FAED64 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-67) สร้างความชัดเจนในสายวิชาชีพของบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีสถานประกอบการรองรับการมีพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อการเรียนรู้ และการมีพี่เลี้ยงในสายวิชาชีพที่ให้คำแนะนำ และแนะแนวอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด 4.5FAED64 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-67) สร้างความชัดเจนในสายวิชาชีพของบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีสถานประกอบการรองรับการมีพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อการเรียนรู้ และการมีพี่เลี้ยงในสายวิชาชีพที่ให้คำแนะนำ และแนะแนวอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด 4.6FAED64 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-67) สร้างความชัดเจนในสายวิชาชีพของบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีสถานประกอบการรองรับการมีพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อการเรียนรู้ และการมีพี่เลี้ยงในสายวิชาชีพที่ให้คำแนะนำ และแนะแนวอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด 4.7FAED64 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ และส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/ อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-67) สร้างความชัดเจนในสายวิชาชีพของบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการ ได้แก่ การมีสถานประกอบการรองรับการมีพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อการเรียนรู้ และการมีพี่เลี้ยงในสายวิชาชีพที่ให้คำแนะนำ และแนะแนวอย่างเหมาะสม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (MAP) ได้มีพันธกิจในการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการใช้งานวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดจนการใช้องค์ความรู้ภายในมหาวิทยาลัยเป็นฐานในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ให้มีความพร้อมทางธุรกิจ เป็นผู้ประกอบการที่มีคุณภาพและศักยภาพในการแข่งขัน ตลอดจนมีการสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้การวิจัยและนวัตกรรม โดยการพัฒนาผู้ประกอบการโดยให้ความรู้ ให้คำปรึกษาการออกแบบเครื่องหมายการค้าและบรรจุภัณฑ์ เป็นงานบริการภายใต้พันธกิจของอุทยานวิทยาศาสตร์ฯ เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของธุรกิจและผลิตภัณฑ์ให้มีความน่าเชื่อถือ สามารถป้องกันผลิตภัณฑ์จากสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเสื่อมสภาพ และเพิ่มโอกาสทางการแข่งขันในตลาดให้แก่ผลิตภัณฑ์ต่อไปได้ งานบริการการออกแบบเครื่องหมายการค้าและบรรจุภัณฑ์ จึงมีความสำคัญและส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ ซึ่งงานออกแบบสามารถสะท้อนเอกลักษณ์ ภาพลักษณ์ และความเป็นตัวตนของธุรกิจ หรือการสร้างการรับรู้ในแบรนด์ผ่านการสื่อสารด้วยการออกแบบได้ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการผลักดันส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ จึงได้สร้างความร่วมมือกับศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (RIS-AE) ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม จัด “โครงการพัฒนาผู้ประกอบการในด้านการออกแบบ ให้คำปรึกษา และบริการออกแบบ (Deal Design)” เพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการที่มีความเข้าใจด้านการออกแบบ โดยถ่ายทอดความรู้เรื่องการออกแบบเครื่องหมายการค้า บรรจุภัณฑ์ การทำผลิตภัณฑ์ต้นแบบด้วยนวัตกรรมเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ตลอดจนให้บริการออกแบบเครื่องหมายการค้าและบรรจุภัณฑ์ สำหรับผู้ประกอบการระดับ Startup และ SMEs รวมถึงการสร้างเครือข่ายร่วมกันเพื่อส่งเสริมการสรางนวัตกรรมกับผู้ประกอบการในระยะยาว ทั้งนี้คาดว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจะมีความพร้อมในการดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กรผ่านการสื่อสารด้วยการออกแบบ ตลอดจนสามารถช่วยเพิ่มโอกาสทางการแข่งขันในตลาด ช่วยกระตุ้นให้เกิดรายได้หมุนเวียนภายในประเทศ และส่งเสริมการสร้างฐานเศรษฐกิจประเทศไทยให้มีความมั่นคงต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้คำปรึกษาและบริการออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ
เพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการในด้านการออกแบบ โดยถ่ายทอดความรู้ด้านการออกแบบเครื่องหมายการค้า บรรจุภัณฑ์ และสาธิตการขึ้นต้นแบบผลิตภัณฑ์ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ/หรือบรรจุภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มด้วยการออกแบบ
เพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการด้วยการสร้างเครือข่าย ผ่าน Platform กลาง
เพื่อสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อส่งเสริมการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการพัฒนาผู้ประกอบการในด้านการออกแบบ ให้คำปรึกษา และบริการออกแบบ (Deal Design)
KPI 1 : จำนวนความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หน่วยงาน 1
KPI 2 : ร้อยละความสำเร็จของระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการของคณะตามเกณฑ์คำรับรองฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการด้านการออกแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : จำนวนบุคลากรที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคอุตสาหกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
6 คน 6
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการพัฒนาผู้ประกอบการในด้านการออกแบบ ให้คำปรึกษา และบริการออกแบบ (Deal Design)
ชื่อกิจกรรม :
4.1.1.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้คำปรึกษา บริการออกแบบ และสาธิตการขึ้นแบบผลิตภัณฑ์ ตลอดจนสร้างระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/04/2564 - 23/04/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธ์ศักดิ์  ภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์  ปุระพรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศุภณัฐ  กาญจนวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธภูมิ  เผ่าจินดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธุ์ระวี  กองบุญเทียม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พิทักษ์พงศ์  แบ่งทิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธีรภัทร  จิโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พิชญาภา  ธัมมิกะกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ไม่เบิกจ่ายงบประมาณ-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล