16989 : โครงการบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อหารายได้ : Agri-English Camp
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา ฉัตรสูงเนิน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/9/2564 16:12:57
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/05/2564  ถึง  31/05/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  ผู้เรียนอายุระหว่าง 7-13 ปี
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน รายได้จากการเก็บค่าลงทะเบียน 40 คน x2,000 บาท 2564 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA64 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ LA64 2.3.3 การบริการวิชาการเพื่อสร้างเสริมรายได้คณะ
ตัวชี้วัด LA64-2.3.3 รายได้จากการให้บริการวิชาการ(อบรม ดูงานที่ปรึกษา วิทยากร ฯลฯ)
กลยุทธ์ LA64 -2.3.3-6 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อสร้างรายไดเให้กับหน่วยงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แม้ว่าประเทศไทยเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญเลี้ยงประชากรโลกมาหลายทศวรรษ และการทำการเกษตรก็เป็นอาชีพที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ปัจจุบันพื้นที่ทางด้านการเกษตรมีแนวโน้มลดลง แรงงานภาคการเกษตรหันไปสู่อาชีพอื่น วัตถุนิยมได้เข้ามามีบทบาททำให้ค่านิยมเปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผู้สืบทอดอาชีพการเกษตรลดน้อยลง นอกจากนี้ ปัจจุบันทั่วโลกเผชิญโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั้งเผชิญหน้ากับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทำให้ประเทศไทยต้องปรับแนวคิดการดำเนินชีวิตให้เข้ากับยุควิถีใหม่ (New Normal) แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นับเป็นกลไกสำคัญหนึ่งที่จะนำมาใช้เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่คนไทยในระยะยาว การปลูกฝังยุวชนให้รู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการเกษตรอันเป็นอาชีพสำคัญต่อสังคมโลก ควบคู่กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 จะทำให้ยุวชนเจริญเติบโตทางความคิด นำไปสู่การเป็นพลเมืองโลก (global citizen) ที่มีคุณภาพ อันจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป คณะศิลปศาสตร์ ร่วมกับสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตระหนักในหน้าที่ของหน่วยงาน ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่มีความเป็นเลิศทางด้านการเกษตร และมีความบุคคลากรที่มีความรู้ ความชำนาญทางด้านภาษาต่างประเทศ และการบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ พร้อมที่จะช่วยเสริมสร้าง ปลูกฝัง และบ่มเพาะยุวชน ผู้ที่ถือว่าเป็นเมล็ดพันธุ์ของชาติให้มีคุณภาพ จึงได้จัดโครงการบูรณาการการเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ ผ่านกิจกรรมต่างๆ โดยการสื่อสารทางภาษาอังกฤษ เพื่อเปิดโอกาสให้ยุวชนในพื้นที่ ที่มีอายุระหว่าง 7- 13 ปี ได้ใช้เวลาในช่วงปิดภาคการศึกษาร่วมสนุกและทำกิจกรรมกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกันอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้ชื่อโครงการ Agri-English Camp for Young Generation เพื่อปลูกฝังและพัฒนาทั้งทางร่างกายและจิตใจ การจัดกิจกรรมที่ทำให้เด็กได้มีส่วนร่วมและทำกิจกรรมด้วยกัน จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางสังคม ร่างกาย และจิตใจ ทำให้เป็นผู้ที่มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคมโดยรวม เป็นการมุ่งเน้นการนำภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ให้เข้มแข็งเพื่อให้ยุวชนสามารถนำมาเป็นแนวทางในการอยู่ในสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้รับทั้งความรู้ ทักษะ และความสนุกสนาน ผ่านกิจกรรมการบูรณาการทางด้านการเกษตรและการสื่อสารทางภาษาอังกฤษ
เพื่อให้บริการวิชาการแก่สังคมและเพิ่มรายได้ให้กับคณะศิลปศาสตร์
เพื่อประชาสัมพันธ์และเป็นการบริการชุมชนของคณะศิลปศาสตร์ และสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร แก่ชุมชนในทุกช่วงวัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้รับทั้งความรู้ ทักษะภาษา โดยร่วมทำกิจกรรมการบูรณาการทางด้านการเกษตรผ่านการสื่อสารทางภาษา
KPI 1 : ผลคะแนนความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.5 ค่าเฉลี่ย 3.5
KPI 2 : จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
KPI 3 : ผู้เข้ารับการอบรมมีทัศนคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : มีเงินเหลือจ่ายจากการดำเนินโครงการ
KPI 1 : มีเงินเหลือจ่ายจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
14 ร้อยละ 14
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้รับทั้งความรู้ ทักษะภาษา โดยร่วมทำกิจกรรมการบูรณาการทางด้านการเกษตรผ่านการสื่อสารทางภาษา
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการ Agri-English Camp ณ ห้อง 105 อาคารประเสริฐ ณ นคร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีกิจกรรมสำหรับผู้เข้าอบรมจำนวนทั้งสิ้น 5 วัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/05/2564 - 14/05/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศรัณย์  จันทร์ทะเล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุภลักษณ์  ดีน้อย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าบำรุงรถราง (2 วันx 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม และคณะทำงาน (50 คนx5 มื้อx50 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและคณะทำงาน (50 คนx10 มื้อx25 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท 0.00 บาท 12,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (2 คนx 20 ชั่วโมงx300 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยงาน (5 คนx 5 วันx200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร/ค่าวัสดุสำนักงาน/วัสดุงานบ้านงานครัว ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภคหักให้มหาวิทยาลัย ร้อยละ 10
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 68200.00
ผลผลิต : มีเงินเหลือจ่ายจากการดำเนินโครงการ
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการ Agri-English Camp ณ ห้อง 105 อาคารประเสริฐ ณ นคร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีกิจกรรมสำหรับผู้เข้าอบรมจำนวนทั้งสิ้น 5 วัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/05/2564 - 14/05/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศรัณย์  จันทร์ทะเล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศุภลักษณ์  ดีน้อย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล