16973 : โครงการบูรณาการบริการวิชาการกับวิจัย: การเรียนรู้และการจัดการปกครองชุมชน ความครอบคลุมทางสังคมและความขัดแย้ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์พีรดา ประจงการ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/8/2564 14:49:14
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/02/2564  ถึง  30/04/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  (1) กลุ่มเป้าหมายภายนอกจำนวน 16 คน ได้แก่ ตัวแทนภาคประชาสังคม (กลุ่มผู้ใช้นำ้แม่สาว) ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ และตัวแทนประชาชน ซึ่งประสบปัญหาความขัดแย้งในการจัดการน้ำ (2) คณะกรรมการศูนย์ศึกษานวัตกรรมสังคมและสันติภาพ จำนวน 4 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานวิจัย งานวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี กองทุนเพื่อการวิจัยคณะศิลปศาสตร์ 2564 11,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พีรดา  ประจงการ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA64 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ LA64-2.2.3 ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์และอ้างอิงในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด LA642.2.3- ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งศูนย์ศึกษานวัตกรรมสังคมและสันติภาพ (SIPS)
กลยุทธ์ LA64-2.2.3-4. ผลักดันความสำเร็จของศูนย์ศึกษานวัตกรรมสังคมและสันติภาพ และศูนย์ภูมิภาคศึกษา
เป้าประสงค์ LA64-2.2.2 ผลงานวิจัยถูกนำไปใช้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและเชิงพาณิชย์
ตัวชี้วัด LA64-2.2.2 ร้อยละผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์นำไปใชประโยชน์
กลยุทธ์ LA64 2.2.2-3 ผลักดันและส่งเสริมให้บุคลากรทำงานวิจัยที่ชุมชนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ 2563 ตัวแทนคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย ใน 3 ภูมิภาคของประเทศไทย ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ร่วมกับโครงการ Together ซึ่งดำเนินการผ่านบริษัท DAI Global, LLC ได้ร่วมกันดำเนินการวิจัยเรื่อง การเรียนรู้และการจัดการการปกครองชุมชน ความคลอบคลุมทางสังคม และความขัดแย้ง โดยได้รับทุนสนับสนุนจากองค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (United States Agency for International Development-USAID) ดำเนินการวิจัยแล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ 2563 ซึ่งมีการศึกษาผลการวิจัยเชิงปริมาณและผลการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการจัดการการปกครองชุมชน ความคลอบคลุมทางสังคม และความขัดแย้ง รวมทั้งปัจจัยขับเคลื่อนความขัดความแย้งในสังคมไทย ในการนี้คณะนักวิจัยจึงมีความประสงค์ที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ในการบริการทางวิชาการโดยการให้ความรู้และเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคประชาสังคม ภาครัฐ และประชาชนที่ประสบปัญหาความขัดแย้งในการจัดการน้ำในพื้นที่ตำบลแม่สาว อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสร้างเสริมการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้งและส่งเสริมการนำผลการวิจัยและความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการจัดการปัญหาความขัดแย้งและป้องกันความรุนแรงในการจัดการปัญหาความขัดแย้งเพื่อสร้างสันติภาพในชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. ให้ความรู้และเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้ง
2. ส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรในชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้ง
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : ภาคประชาสังคมนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรในชุมชน
KPI 1 : การวิจัยถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรน้ำโดยภาคประชาสังคม 1 เรื่อง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้ง
ชื่อกิจกรรม :
-กิจกรรมให้ความรู้จากผลการวิจัยและเสวนาแลกเปลี่ยนการจัดการปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรน้ำ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลแม่สาว (26/2/2564)
-กิจกรรมศึกษาและสำรวจพื้นที่ความขัดแย้งทรัพยากรน้ำ (27/22564)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/02/2564 - 27/02/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์  ชายทวีป (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พสุนิต  สารมาศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พงษ์ศักดิ์  รวมทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 1,600 บาท (1 มื้อ X มื้อละ 80 บาท X 20 คน)
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1,400 บาท (2 มื้อ X มื้อละ 35 บาท X 20 คน)
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 5,000 บาท (วันละ 2,500 บาท X 2 วัน)
ค่าที่พัก 3,600 บาท บาท (ห้องละ 1,200 บาท X 3 ห้อง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11600.00
ผลผลิต : ภาคประชาสังคมนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรในชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้การจัดการปัญหาความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากรในชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/02/2564 - 30/04/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์  ชายทวีป (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีเบิกจ่ายงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ส่งผลให้การดำเนินงานของกลุ่มเป้าหมายที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมล่าช้า ทำให้ต้องขยายเวลาการดำเนินงานและการติดตามผลหลังสิ้นสุดโครงการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
แนะนำให้กลุ่มเป้าหมายปรับแผนดำเนินงานและรูปแบบงานร่วมกับทีมนักวิจัยให้เป็นการสร้างบทเรียนและสื่อออนไลน์ และให้ความรู้เชิงเทคนิคแก่กลุ่มเป้าหมายในการทำงานผ่านระบบออนไลน์กับนักวิจัย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล