16970 : โครงการ อบรมหลักสูตรการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาวะ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์ ทองสง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/2/2564 15:20:47
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏับัติราชการ(incentive)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2564  ถึง  30/04/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในจังหวัดชุมพรและพื้นที่ใกล้เคียง
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณสนับสนุนตัวชี้วัด Incentive (หลัง)ในคำรับรองปฏิบัติราชการ 2564 3,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.8 จำนวนหลักสูตร Lifelong Learning
กลยุทธ์ 64 MJU 2.1.14 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรที่สนองความต้องการของภาครัฐและเอกชน หลักสูตรความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มียุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่มหาวิทยาลัยเกษตรสุขภาวะ (Well-Being at Chumphon) ซึ่งมุ่งเน้นการส้รางความยั่งยืนของการพัฒนาการเกษตรในจังหวัดชุมพรและพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตโควิด 19 ที่ทำให้ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติหายไปขณะที่นักท่องเที่ยวชาวไทยก็มีความใส่ใจในด้านสุขภาพมากกยิ่งขึ้น นักท่องเที่ยวจะเลือกท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวที่มีความปลอดภัยทั้งในด้านสิ่งแวดล้อมและอาหารการกิน ทำให้กระแสการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทยได้ขายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นกลไกหนึ่งที่จะช่วยเหลือเกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น โดยปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรได้เป็นฝ่ายเลขานุการของสมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพรซึ่งสมาชิกในเครือข่ายส่วนหนึ่งก็มีการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรขึ้นมาแล้วบ้าง ดังนั้นในการที่จะยกระดับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดชุมพรให้ไปสู่การจัดการการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนได้จำเป็นที่จะต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรเพื่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดชุมพรให้ไปสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาวะต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างองค์ความรู้สู่การเกษตรสุขภาวะ
เพื่อเพิ่มพื้นที่การท่องเที่ยวทางเกษตรสุขภาวะจังหวัดชุมพร
เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นเพื่อสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การอบรมหลักสูตรการท่องเที่ยงเชิงเกษตรสุขภาวะ
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การอบรมหลักสูตรการท่องเที่ยงเชิงเกษตรสุขภาวะ
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมหลักสูตรการท่องเที่ยงเชิงเกษตรสุขภาวะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2564 - 30/04/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหาร จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เข้าร่วมโครงการไม่ครบจำนวน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
การจัดระบบการลงทะเบียนล่วงหน้า
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
โครงการอบรมเกษตรสุขภาวะ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุขภาวะ
ช่วงเวลา : 01/03/2564 - 31/03/2564
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล