16935 : โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมเผยแพร่สู่ชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
นายวิทชัย สุขเพราะนา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/3/2564 10:32:11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  คณะผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ่้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน งบพัฒนานักศึกษา 2564 75,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. อรญาพัชร์  พิทักษ์วัฒนชัย
นาย วิทชัย  สุขเพราะนา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง กัณณิกา  ข้ามสี่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ  ดุษฎี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.10 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 MJU 2.1.19 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.24 จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ 64 MJU 2.4.3 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ให้น่าสนใจและทันสมัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 64.2 ร้อยละโครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอนและการวิจัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นตามวิถีชีวิตของคนในสังคมเพื่อเป็นแบบแผนการประพฤติปฏิบัติ อนุรักษ์ เสริมสร้างค่านิยมและแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สามารถเข้าใจ ซาบซึ้ง ยอมรับ ยึดถือให้เป็นแบบอย่างและปฏิบัติร่วมกันอันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม ศิลปวัฒนธรรมสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถิ่นต่างๆได้พัฒนาและสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบของวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญา ศิลปะ เป็นต้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึก กระตุ้นให้เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในการฟื้นฟู เผยแพร่ สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและเพิ่มคุณค่าความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรม โดยการถ่ายทอด อนุรักษ์ สืบสานมรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ดำรงอยู่ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อเป็นการอนุรักษ์ สืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
1.เพื่อเป็นการฝึกอบรมทักษะด้านหัตถกรรมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้แก่นักศึกษา
3.เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่ชมชน
4. เพื่อสร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมกับหน่วยงานภายนอก
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรมอบรมฐานเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับออกไปเผยแพร่ได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
ผลผลิต : กิจกรรมเผยแพร่องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 200 คน 400
KPI 2 : จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 หน่วยงาน 2
KPI 3 : ผู้เข้าร่วมโครงการเรียนรู้และสามารถสร้างผลงานได้สำเร็จ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรมอบรมฐานเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมอบรมฐานเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.อรญาพัชร์  พิทักษ์วัฒนชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวิทชัย  สุขเพราะนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 200 คนๆละ 25 บาท* 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
2.ค่าอาหาร จำนวน 200 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ เป็นเงิน 5,000 บาท
2.ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ผลผลิต : กิจกรรมเผยแพร่องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเผยแพร่องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.อรญาพัชร์  พิทักษ์วัฒนชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวิทชัย  สุขเพราะนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 200 คนๆละ 25 บาท*2 วัน เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าอาหาร จำนวน 200 คนๆละ 50 บาท*2 วัน เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 12,000 บาท
2. ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล