16923 : โครงการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงและสร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงพาณิชย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/2/2564 11:05:19
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/02/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 2564 150,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา  วัฒนนภาเกษม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 64-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 64-3.1.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64-3.1.3.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่าให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้จัดตั้งโครงการ “โครงการศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยงในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ” ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) โดยขยายพื้นที่ทุกๆ ปี ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน โดยทางมหาวิทยาลัยได้มอบหมายให้สาขาเทคโนโลยีการอาหาร เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบการเพิ่มมูลค่าพืชมะเกี๋ยง โดยทางสาขาวิชาได้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อตอบสนอง ต่อนโยบายของทางมหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่อง โดยได้ทดลองและสร้างสูตรผลิตภัณฑ์อาหารจากผลมะเกี๋ยง เช่น แยมมะเกี๋ยง โยเกิร์ตมะเกี๋ยง และมะเกี๋ยงหยี เป็นต้น ซึ่งนอกจากการผลิตเพื่อสร้างมูลค่าแก่ผลมะเกี๋ยง ยังนำองค์ความรู้เผยแพร่ แก่ชุมชนรอบมหาวิทยาลัย ณ ปัจจุบันกระแสนิยมทางการตลาดของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ หรือผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ มีอัตรากำลังขยายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมะเกี๋ยงถือว่าเป็นพืชที่มีสรรพคุณเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดี และมีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงเป็นถือเป็นโอกาสในการสร้างช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงจากสูตรต้นแบบพัฒนาขึ้นมา ทั้งนี้นอกจากเป็นการพัฒนาการใช้ประโยชน์พืชมะเกี๋ยงให้เกิดประโยชน์แล้ว ยังเป็นการสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และพัฒนาให้เป็นพืชเศรษฐกิจได้ โดยทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มีความพร้อมและมีศักยภาพที่จะดำเนินการเป็นต้นแบบของศูนย์เรียนรู้การแปรรูปผลผลิตมะเกี๋ยง และสร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์จากมะเกี๋ยงในรูปแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อเป็นต้นแบบให้แก่เกษตรกร หรือผู้สนใจทั่วไปในการสร้างผลิตภัณฑ์จากพืชมะเกี๋ยงเพื่อจัดจำหน่ายในเชิงพาณิชย์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพต้นแบบมะเกี๋ยง
2 เพื่อสร้างการรับรู้ และแบรนด์ของผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงต้นแบบ
3 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านการแปรรูปมะเกี๋ยงเพื่อสุขภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงและสร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงพาณิชย์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากพืชมะเกี๋ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงและสร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงพาณิชย์
ชื่อกิจกรรม :
สร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบและสร้างการรับรู้จากผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงเพื่อสุขภาพเชิงพาณิชย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/02/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อติดต่อประสานงาน ส่งตัวอย่าง และอื่นๆภายใต้โครงการฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาออกแบบพร้อมบรรจุภัณฑ์ จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 35,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฎิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 15 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น สารเคมีสำหรับวิเคราะห์คุณภาพและผลิตภัณฑ์ เป็นเงิน 25,000 บาท
2. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงพลาสติก/ขวดแก้ว/ขวดพลาสติก เป็นเงิน 5,000 บาท
3. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ผลมะเกี๋ยงสด/แสลนสำหรับเก็บมะเกี๋ยง เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 104000.00
ชื่อกิจกรรม :
สร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงเพื่อสุขภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/02/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,500 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์พร้อมขาตั้ง จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาแกะผลมะเกี๋ยง เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 19,000.00 บาท 0.00 บาท 19,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฎิบัติ จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 5,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น เครื่องแก้ว สารเคมี เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงดำ น้ำยาล้างจาน ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 18,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 46000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์ covid-19 ทำให้การเดินทางในการจัดเตรียมตัวอย่างต้นแบบ และการจัดกิจกรรมการสร้างการรับรู้ เป็นไปด้วยความล่าช้า
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล