16892 : โครงการอนุรักษ์ชันโรงอย่างบูรณาการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์ พู่พัฒนศิลป์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/3/2564 10:22:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 2564 280,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ว่าที่ ร.ต. ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จังหวัดชุมพร มีหน่วยงานที่รับผิดชอบร่วมสนองงานภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) มีอยู่ด้วยกันหลายพื้นที่ เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลสลุย และ องค์การบริหารส่วนตำบลสองพี่น้อง อำเภอ ท่าแซะ จังหวัดชุมพร นอกจากนี้ยังมี องค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวมีความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชและสัตว์ เหมาะเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนทุกช่วงวัย ชันโรง (Stingless bee) ผึ้งที่ไม่มีเหล็กในเป็นแมลงที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศป่าและชุมชนเป็นอย่างมาก ชันโรงเป็นผึ้งขนาดเล็ก หรือเรียกอีกชื่อว่า “ผึ้งจิ๋ว” ลักษณะเด่นของชันโรงคือการเก็บเกสร (เก็บเกสรร้อยละ 80 เก็บน้ำหวานเพียงร้อยละ 20) จึงสามารถเรียกได้ว่าชันโรงเป็นสัตว์ช่วยผสมเกสร เป็นแมลงผสมเกสรประจำถิ่น (ผสมเกสร ทุเรียน มะม่วง มะพร้าว ส้มโอ แตงโม และพืชตระกูลแตง) และหากินประจำที่ และไม่มีนิสัยเลือกชอบมักเก็บเล็กผสมน้อย ไม่รังเกียจ ดอกไม้ที่ผึ้งชนิดอื่นลงตอมแล้ว ชันโรงมีรัศมีหากินคงที่ บินหาอาหารในระยะไม่เกิน 300 เมตร จากรัง มีหนวดไว้ค้นหาแหล่งอาหารได้อย่างแม่นยำ และใช้หนวดวัดสภาพอากาศได้ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น กลิ่นของสารเคมีในระดับอะตอม ชันโรงมีพฤติกรรมการออกเรือนเข้าไปอาศัยในโพรงเทียมที่มนุษย์สร้างขึ้น จึงเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับมนุษย์ และดำรงอยู่ในระบบนิเวศเกษตร สอดคล้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ อนึ่งชันโรงเป็นดัชนีชีวัดความเป็นเกษตรอินทรีย์ได้อย่างยอดเยี่ยม เพราะหากบริเวณรอบๆ ใช้สารเคมีในการทำการเกษตร ชันโรงไม่สามารถอยู่รอดได้ อย่างไรก็ดีน้ำผึ้งชันโรงมีน้ำตาลมอลโทสซึ่งไม่มีในผึ้งโพรงและผึ้งพันธุ์ น้ำผึ้งชันโรงมีราคาสูงกว่าน้ำผึ้งทั่วไปถึง 10 เท่า “ชัน” สามารถนำไปประกอบตำรับยาพื้นบ้าน หรือเลี้ยงเพื่อจำหน่าย หรือการแปรรูปน้ำผึ้งเป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายต่อไป อย่างไรก็ตามที่ผ่านมามหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ได้ริเริ่มเลี้ยงชันโรงพันธุ์ขนเงิน และพันธุ์หลังลาย (ซึ่งทั้งสองชนิดสามารถผสมพันธุ์กันได้เพราะเป็นสปีชีส์ (Species) เดียวกัน T. fuscobalteata var. pagdeni ) ชันโรงในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ได้รับผลดีอย่างมาก ชันโรงสามารถเติบโตและขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีพันธุ์พืชหลากหลายชนิด เช่น เสม็ดขาว เสม็ดแดง กระถินเทพา ต้นชะเมา ฯลฯ ดังนั้นจึงเห็นว่าควรมีการถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกรและผู้สนใจภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) จังหวัดชุมพร เพื่อเป็นการต่อยอดงานเดิมและบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับชันโรงให้มีความก้าวหน้า ยั่งยืน เป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศ และเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรสืบไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อการอนุรักษ์ชันโรง
ฝึกอบรมการเลี้ยงชันโรงให้แก่กลุ่มเกษตรกร
เลี้ยงชันโรงในพื้นที่โครงการ อพ.สธ. จังหวัดชุมพร จำนวน 4 แห่ง
แปรรูปน้ำผึ้งชันโรงเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น สบู่น้ำผึ้งชันโรง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แหล่งเรียนรู้ชันโรงเพื่อช่วยผสมเกสรในพื้นที่โครงการ อพ.สธ. 4 แห่ง ภายในจังหวัดชุมพร ชันโรงและผลิตภัณฑ์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าฝึกอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : งบประมาณภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
280000 บาท 280000
KPI 3 : จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมการเลี้ยงชันโรง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 4 : ร้อยละของอัตราการรอดของชันโรงในโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละความสำเร็จของโครงการทันเวลา
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ผลิตภัณฑ์สบู่จากน้ำผึ้งชันโรง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 ก้อน 200
KPI 7 : มีจำนวนรังชันโรงเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 รัง 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แหล่งเรียนรู้ชันโรงเพื่อช่วยผสมเกสรในพื้นที่โครงการ อพ.สธ. 4 แห่ง ภายในจังหวัดชุมพร ชันโรงและผลิตภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาแหล่งเรียนรู้ชันโรงในพื้นที่โครงการ อพ.สธ. จังหวัดชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/03/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการผลิตชุดฐานตั้งกล่องเลี้ยงชันโรง จำนวน 96 ชุดๆละ 250 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าพาหนะ (ชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง) เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการจัดซื้อจัดจ้างชนิดพันธุ์ชันโรง พร้อมฐานตั้งรัง หลังคากันแดดกันฝน จำนวน 50 ชุดๆ 1,250 บาท เป็นเงิน 62,500 บาท หมายเหตุ จ้างเหมาผลิตชันโรงแม่พันธุ์ พร้อมอุปกรณ์ในการตั้งรัง เช่น ฐานรัง มีหลังคาเพื่อกันแดด กันฝน ทั้งหมดจำนวน 50 ชุด)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 62,500.00 บาท 0.00 บาท 62,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผลิตกล่องเลี้ยงชันโรง จำนวน 30 กล่องๆ ละ 264 บาท เป็นเงิน 7,920 บาท
(กล่องสำหรับเลี้ยงชันโรง เป็นกล่องไม้ขนาดความสูงไม่ต่ำกว่า 10 เซ็นติเมตร ความยาว 30 เซ็นติเมตร มีฝาปิดพร้อมแผ่นพลาสติกปกปิดด้านในกล่อง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,920.00 บาท 0.00 บาท 7,920.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผลิตสื่อวีดีทัศน์เทคนิคการเลี้ยงชันโรงเพื่อช่วยผสมเกสร จำนวน 1 งานๆละ 28,000 บาท เป็นเงิน 28,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผลิตโรอัฟให้ความรู้เกี่ยวกับชันโรง จำนวน 5 ชิ้นๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าจ้างเหมาผลิตสบู่จากน้ำผึ้งชันโรง จำนวน 200 ก้อนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดทำสรุปเล่มรายงาน จำนวน 4 เล่มๆ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าแผ่นใส จำนวน 16 แผนๆละ 5 บาท เป็นเงิน 80 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80.00 บาท 80.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 140000.00
ชื่อกิจกรรม :
การเพาะเลี้ยงและอนุรักษ์ชันโรงและผลิตภัณฑ์จากชันโรง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/03/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดทำรังชันโรงพร้อมขาตั้งและรังสำหรับแยกขยาย จำนวน 65 ชุดๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 120,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 130,000.00 บาท 130,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ เช่น ป้ายไวนิล ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ กระดาษสติ๊กเกอร์ ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ขวดแก้ว ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมีกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 140000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ขาดความร่วมมือจากชุมชน
การจัดซื้อเกิดความล่าช้า
การถ่ายภาพชันโรงให้เห็นชัด
ขาดผู้เชี่ยวชาญผลิตสบู่
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสาน อบต. ที่รับผิดชอบในพื้นที่
เร่งการเบิกจ่ายตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ของโครงการ
ใช้มืออาชีพในการผลิตสื่อ
ใช้มืออาชีพ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
แมลงที่มีประโยชน์ / การเลี้ยงและขยายรังชันโรง ในรายวิชา กีฎวืทยาการเกษตร
ช่วงเวลา : 01/07/2564 - 31/08/2564
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล