16889 : โครงการ "การอนุรักษ์ รวบรวมพันธุ์ และการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสกุล Sargassum เพื่อการใช้ประโยชน์"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิรักษ์ ผลเจริญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/2/2564 21:01:42
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  เน้นการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนในชุมชน ประกอบด้วย ชุมชน โรงเรียน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ให้เข้าร่วมดำเนินงานและเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการ จำนวน 60 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2564 231,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์  ผลเจริญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มัลลิกา  จินดาซิงห์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเพิ่มขึ้นของประชากรโลก การเสื่อมโทรมของทรัพยากร รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในปัจจุบันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผลผลิตและทรัพยากรทางน้ำจากธรรมชาติมีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรจากทะเล เช่น สาหร่ายชนิดต่างๆ จึงนับว่ามีความสำคัญ จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุน และแก้ไขปัญหาเป็นการเร่งด่วน เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งทั้งในภาคการผลิตและอุตสาหกรรม ซึ่งจำเป็นต้องนำนวัตกรรมและความรู้ใหม่ๆ เข้ามาช่วยให้มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงเป็นหัวใจสำคัญในการผลิตบุคลากร สร้างสรรค์ผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเล มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ตั้งอยู่ในเขตอำเภอละแม ซึ่งมีพื้นที่ทางด้านตะวันออกเป็นชายฝั่งทะเล มีหาดทรายกว้างและยาว ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเล โดยพัฒนาโครงสร้างเพื่อทำให้เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่สำคัญเช่น กุ้ง เพรียงทราย และเป็นแหล่งการทำประมงชายฝั่งที่สำคัญทำให้เกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและชุมชน (ศูนย์ข้อมูลประเทศไทย, 2558) ทั้งนี้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรนับว่ามีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการพัฒนาเป็นศูนย์เพาะเลี้ยงและพัฒนานวัตกรรมจากสาหร่ายทะเลอินทรีย์ เนื่องจากการสำรวจในส่วนของ คุณภาพน้ำในรอบปีบริเวณชายฝั่งละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร อุณหภูมิน้ำมีค่าอยู่ในช่วง 28-33 องศาเซลเซียส และความเค็มของน้ำมีค่าอยู่ในช่วง 18.67-30.67 ppt (ข้อมูลจากการสำรวจจริง) ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญและเหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลเศรษฐกิจชนิดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหร่ายทุ่น หรือ ซาร์กัสซัม (Sargassum sp.) ซึ่งเป็นสาหร่ายประจำถิ่นที่พบบริเวณชายหาดทุกปี โดยชาวบ้านบริเวณชายหาดจะเก็บไปประกอบอาหารรับประทาน สาหร่ายทุ่น หรือ ซาร์กัสซัม เป็นสาหร่ายสีน้ำตาลขนาดใหญ่ ที่พบแพร่กระจายได้ทั่วโลกทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น โดยเฉพาะในเขตอินโด-แปซิฟิกและออสเตรเลีย (Tseng et al., 1985) สาหร่ายชนิดนี้มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นในไทยว่า สาหร่ายทุ่น สาหร่ายใบ โดยสาหร่ายสกุลนี้สามารถพบแพร่กระจายได้ทั้งในบริเวณชายฝั่งอ่าวไทยและชายฝั่งทะเลอันดามัน (กาญจนภาชน์, 2527) บริเวณอ่าวไทยมีรายงานพบสาหร่ายสกุลนี้ในจังหวัด ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหลบภัยและแหล่งอาหารของสัตว์น้ำหลายชนิด อีกทั้งยังนำมาประกอบอาหาร ทำปุ๋ยชีวภาพ และทำยารักษาโรค เนื่องจากในสาหร่ายทุ่นมีสารสีน้ำตาลฟิวโคแซนทิน (Fucoxanthin) มากกว่าสาหร่ายชนิดอื่นๆ ซึ่งมีสารแคโรทีนและคลอโรฟิลล์ ที่สามารถรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน ใช้สำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก ที่สำคัญคือ สามารถยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งได้ โดยการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน นอกจากนี้ยังมีการใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ จากสาหร่ายทะเลมากมาย เช่น เป็นแหล่งอาหารของสัตว์น้ำวัยอ่อน ช่วยดูดซับสารอาหาร เป็นตัวปรับสภาพน้ำให้น้ำมีคุณภาพดีขึ้น ใช้เป็นยารักษาคอพอกเนื่องจากมีปริมาณไอโอดีนสูง ใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัด alginate หรือ algin ซึ่งเป็นสารแขวนลอยใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ อุตสาหกรรมนม ไอศครีม ขนมปัง ขนมหวาน และลูกกวาด อุตสาหกรรมทำกระดาษป้องกันการซึมของหมึกทาให้เห็นตัวพิมพ์ชัดเจนขึ้น อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง เช่น แชมพูสระผม ครีมโกนหนวด และโลชั่นต่างๆ ทำปุ๋ย ผสมในอาหารสัตว์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ และยังนำส่วนของยอดอ่อนมาประกอบอาหารรับประทานได้หลายชนิด (กาญจนภาชน์, 2527; 2550) ปัจจุบันมีการนำสาหร่ายชนิดนี้มาใช้ประโยชน์มากขึ้น จึงมีความจำเป็นต้องมีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเป็นเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ ซึ่งการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลจะมีปัจจัยหลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น อุณหภูมิ ความเค็ม ปริมาณแสง pH และปริมาณสารอาหารในน้ำ เป็นต้น แต่ข้อมูลการเพาะเลี้ยงให้มีจำนวนเพียงพอและการนำไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังยังมีอยู่จำกัด ดังนั้นโครงการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ รวบรวมพันธุ์ และการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสีน้ำตาลสกุล Sargassum เพื่อการใช้ประโยชน์ รวมถึงศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับเพาะเลี้ยงสาหร่ายทุ่น บริเวณอ่าวละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร อันจะนำไปสู่การสืบค้นสรรพคุณ และศึกษาหากรรมวิธีในการนำมาใช้ประโยชน์โดยการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร รวมถึงเป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมสาหร่ายทุ่น และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ดังวิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชุมพรที่ว่า “ชุมพรน่าอยู่ ประตูทองสองฝั่งทะเล เกษตรกรรมยั่งยืน การท่องเที่ยวคุณภาพ”

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสำรวจการกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยาของสาหร่ายสีน้ำตาล
สร้างแหล่งเก็บรวบรวมพันธุ์สาหร่ายสีน้ำตาล
เพื่อเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สาหร่ายสีน้ำตาล
เพื่อจำแนกพันธุกรรมสาหร่ายสีน้ำตาล
เพื่อสกัดสำคัญจากสาหร่ายสีน้ำตาลมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 การสำรวจ การอนุรักษ์ และการศึกษาพันธุกรรมสาหร่ายสีน้ำตาล Sargassum
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : แหล่งรวบรวมจัดเก็บพันธุกรรมสาหร่ายสีน้ำตาล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แห่ง 1
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
77000 บาท 77000
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : กิจกรรมที่ 2 การศึกษาปัจจัยเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมสำหรับสาหร่ายสีน้ำตาลสกุล Sargassum C. Agardh เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ต้นแบบระบบการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทุ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
77000 บาท 77000
ผลผลิต : กิจกรรมที่ 3 การยกระดับพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสาหร่ายทุ่น และการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายงบประมาณตามที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
77000 บาท 77000
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ผลิตภัณฑ์สารสกัดจากสาหร่ายสีน้ำตาล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรมที่ 1 การสำรวจ การอนุรักษ์ และการศึกษาพันธุกรรมสาหร่ายสีน้ำตาล Sargassum
ชื่อกิจกรรม :
การสำรวจ การอนุรักษ์ และการศึกษาพันธุกรรมสาหร่ายสีน้ำตาล Sargassum

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัลลิกา  จินดาซิงห์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงาน จำนวน 4 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 60 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 34,800.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 36,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์, แผ่นซีดี ฯลฯ เป็นเงิน 18,600 บาท
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, ปากกา, ดินสอ ฯลฯ เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 33,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 33,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 77000.00
ผลผลิต : กิจกรรมที่ 2 การศึกษาปัจจัยเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมสำหรับสาหร่ายสีน้ำตาลสกุล Sargassum C. Agardh เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม
ชื่อกิจกรรม :
การศึกษาปัจจัยเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมสำหรับสาหร่ายสีน้ำตาลสกุล Sargassum C. Agardh เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงาน จำนวน 4 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 60 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 34,800.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 36,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์, แผ่นซีดี ฯลฯ เป็นเงิน 18,600 บาท
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, ปากกา, ดินสอ ฯลฯ เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 33,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 33,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 77000.00
ผลผลิต : กิจกรรมที่ 3 การยกระดับพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสาหร่ายทุ่น และการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
การยกระดับพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสาหร่ายทุ่น และการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิรักษ์  ผลเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 60 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 60 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงาน จำนวน 4 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 34,800.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 36,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์, แผ่นซีดี ฯลฯ เป็นเงิน 18,600 บาท
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, ปากกา, ดินสอ ฯลฯ เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 33,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 33,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 77000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณในการดำเนินการมาล่าช้า
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การจำแนกพันธุกรรมสาหร่าย
ช่วงเวลา : 01/10/2563 - 30/09/2564
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้จากการปฏิบัติและนำไปใช้ประโยชน์ 60 จัดทำเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล