16868 : โครงการทักษะภาษา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/1/2564 14:18:21
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/01/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  580  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ และประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วรรณอุบล  สิงห์อยู่เจริญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.10 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
กลยุทธ์ 64 MJU 2.1.19 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64-1. การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 64-1.6 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 64-1.6.4 ร้อยละความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 64-6.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะด้านภาษา IT และทักษะวิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยพันธกิจของกลุ่มหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มุ่งเน้นจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงอยู่ในสังคมเป็นอย่างดี ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปดังกล่าวนี้ เป็นไปตามแนวทางของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้งนี้ คระกรรมการบริการกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ณ จึงได้ตระหนักแลพเล็งเห็นถึงความจำเป็นในการบูรณาการรายวิชาศึกษาทั่วไปร่วมกับการพัฒนาทักษะ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของนักศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาทักษะชีวิต และเรียนรู้ความเป็นธรรมชาติของโลกที่ตนเองอยู่อาศัยอย่างเท่าทัน จากความตระหนักและเล็งเห็นถึงความจำเป็นดังกล่าว คณะกรรมการกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป จึงมีความตั้งใจที่จะจัดทำโครงการทักษะภาษา ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ที่จะดำเนินการตลอดช่วงปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม มีทักษะการแสวงหาความรู้และแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคณธรรม และตระหนักในคุณค่าของศิลปะวัฒนธรรมไทย และของประชาคมนานาชาติ สามารถความรู้ที่ได้ไปดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข อันจะนำไปสู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นพลเมืองที่มีคูค่าของสังคมไทย และสังคมโลก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร (Communication) ของนักศึกษาเป็นไปอย่างเหมาะสม
2. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ (Critical thinking) ของนักศึกษา
3. เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม (Teamwork skill) ของนักศึกษา
4. เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นผู้นำ (Leadership skill) ของนักศึกษา
5. เพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคม (Social responsibility)
6. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong leaning skill) ของนักศึกษา
7. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนด้านภาษาให้มีความหลากหลาย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : Green English ปลุกจิตสำนึกเกษตรกรรมยั่งยืน
KPI 1 : จำนวนเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืนในชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เครือข่าย 1
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 คน 80
ผลผลิต : Farm to Table
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
ผลผลิต : Green Meals
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 คน 200
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : ภาษาและดนตรีเพื่อสุนทรียภาพ
KPI 1 : จำนวนผู้รับฟังรายการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : จำนวนครั้งที่จัดรายการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 ครั้ง 30
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่รับฟังรายการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : English for Ecotourism
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : Green English ปลุกจิตสำนึกเกษตรกรรมยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
Green English ปลุกจิตสำนึกเกษตรกรรมยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วรรณอุบล  สิงห์อยู่เจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อโนชา  สุภาวกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : Farm to Table
ชื่อกิจกรรม :
Farm to Table

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ศศิมินตรา  บุญรักษา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : Green Meals
ชื่อกิจกรรม :
Green Meals มื้ออาหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประไพพรรณ  กิ้วเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : ภาษาและดนตรีเพื่อสุนทรียภาพ
ชื่อกิจกรรม :
ภาษาและดนตรีเพื่อสุนทรียภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประไพพรรณ  กิ้วเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : English for Ecotourism
ชื่อกิจกรรม :
English for Ecotourism

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
กำหนดการจริงไม่เป็นไปตามแผนการที่วางไว้
การจัดกิจกรรมกำหนดขึ้นหลังเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายให้เว้นระยะห่าง ป้องกัน และ WFH (ในบางช่วงเวลา) ประกอบกับผู้ดำเนินรายการส่วนใหญ่มีความระมัดระวังเกี่ยวกับการป้องกันติดเชื้อไวรัสโคโรนาและผู้ดำเนินรายการทุกคนมีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ส่งผลให้การจัดรายการจึงหยุดบ่อยครั้ง ทำให้เป้าหมายเชิงปริมาณในการจัดรายการลดลง และในช่วงเวลาปกติบางสัปดาห์ผู้ดำเนินรายการติดภารกิจทำให้ไม่สามารถจัดรายการได้
การจัดกิจกรรมกำหนดขึ้นหลังเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด -19) มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายให้เว้นระยะห่าง ป้องกัน และ WFH (ในบางช่วงเวลา) ซึ่งผู้รับผิดชอบ โครงการและคณาจารย์จะต้องเน้นย้ำนักศึกษาผู้จัดโครงการให้มีความระมัดระวังเกี่ยวกับการ ป้องกันติดเชื้อไวรัสโคโรนา ทำให้เป้าหมายและความกว้างขวางในการแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคมของนักศึกษาอาจไม่แสดงเชิงปริมาณอย่างเห็นได้ชัด
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปรับกำหนดการเพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์จริง
จากปัญหาและอุปสรรคข้างต้น ในสถานการณ์ปกติกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปสามารถจัดรายการได้เป็นปกติ หรือหากตารางจัดรายการติดขัดสามารถแลกเวลากันได้ และควรจัดทำคลิปบันทึกรายการล่วงหน้า หรือจัดทำคลังบทรายการวิทยุ
หากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ยังไม่เป็นปกติ ผู้รับผิดชอบโครงการและคณาจารย์ประจำวิชาควรปรับปรุงบางกิจกรรมให้สอดคล้องกับ สถานการณ์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล