16857 : การศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ (Anoectochilus burmanicus) โดยใช้เทคโนโลยีแสง LED ในระบบโรงเรือน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.สุลาวัลย์ อาทิตย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/2/2564 8:52:56
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/02/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  0  คน
รายละเอียด  14.1 พื้นที่ชุมชนบ้านปงไคร้ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 14.2 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2564 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ) 2564 250,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปฏิภาณ  สุทธิกุลบุตร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.3 พัฒนาองค์ความรู้และผลักกดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.6 ดำเนินงานตามแนวพระราชดำริ ของพระเจ้าอยู่หัวฯ สนองพระราชดำริของพระบรมวงศานุวงศ์ ผ่านการบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 64 AP 2.6 จำนวนกล้วยไม้ที่ได้รับการอนุรักษ์ ขยายพันธ์ุ และนำคืนสู่ธรรมชาติ
กลยุทธ์ ุ64 AP2.6.1 ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเพาะขยายพันธ์ุกล้วยไม้ไทย กล้วยไม้หายาก อย่างครบวงจร และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กล้วยไม้นอกจากจะมีดอกและต้นที่มีความงามเฉพาะตัวเพื่อใช้เป็นไม้ดอกไม้ประดับที่ทรงคุณค่าแล้ว ปัจจุบันมีงานวิจัยเพื่อพัฒนาและเพิ่มมูลค่ากล้วยไม้ในเชิงเศรษฐกิจ (Bioeconomy) ออกมาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะสรรพคุณในด้านสมุนไพร เนื่องจากกล้วยไม้มีความหลากหลายของจำนวนชนิดมาก และแต่ละชนิดมีสารพฤกษเคมีหรือสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่ที่หลากหลายและเป็นประโยชน์มากเช่นกัน กล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ (Anoectochilus burmanicus) เป็นกล้วยไม้ดินในกลุ่มกล้วยไม้อัญมณี (Jewel orchids) มีสภานภาพเป็นกล้วยไม้ดินหายาก ในประเทศไทยพืชสกุลนี้พบรายงานทั้งหมดเพียง 6 ชนิดเท่านั้น ปัจจุบันจำนวนประชากรชนิดนกคุ้มไฟในธรรมชาติลดจำนวนลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและฤดูกาล สภาวะแห้งแล้ง สภาพป่าที่ถูกรบกวนและปริมาณการเก็บออกจากป่าโดยมนุษย์ที่เพิ่มขึ้นทุกปี จากงานวิจัยเกี่ยวกับกล้วยไม้สกุลนี้ในต่างประเทศ โดยเฉพาะ A. roxburghii และ A. formosanus พบว่ามีสาร Flavonoids ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ มีสรรพคุณรักษาโรคทางระบบไหลเวียนโลหิต โรคตับและโรคไต (Du et. al., 2008; Zhang et. al., 2010) และทำเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ (Functional food) กันอย่างแพร่หลาย (Takatsuki et al., 1992) นอกจากนี้ยังมีการศึกษาพบสาร kinsenoside จาก A. formosanus และนกคุ้มไฟ มีฤทธิ์ในการต้านการแปลงสภาพไขมัน การสะสมไขมัน และการดื้อต่ออินซูลิน (Du et al, 2007 และ พรสิริ พิจกา และคณะ, 2559) จากศักยภาพและปัญหาที่เกิดขึ้นทำให้คณะผู้วิจัยได้ออกแบบดำเนินการวิจัยอย่างต่อเนื่องโดยเน้นที่ระยะต้นน้ำก่อนเพื่อแก้ปัญหาเรื่องการเพิ่มจำนวนและผลผลิตของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ คืองานวิจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์กล้วยไม้สมุนไพรนกคุ้มไฟ จากงานวิจัยนี้คณะผู้วิจัยได้องค์ความรู้ดังนี้ 1) การขยายพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในสูตรอาหารแข็งโดยชุมชน และ 2) วัสดุปลูกและสภาวะที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟในโรงเรือนอย่างง่าย จากนั้นได้ทำการวิจัยเรื่อง การศึกษาปัจจัยสภาพแวดล้อมและแสง LED ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ ผลการวิจัยที่ได้พบว่า 1) กล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟมีการเจริญเติบโตได้ในสภาพแวดล้อมที่จำเพาะมาก กล่าวคือ ต้องเป็นป่าดิบเขาที่ไม่ถูกรบกวน มีความสูง 1000 เมตร ขึ้นไป แสงส่องถึงได้เล็กน้อย ดินมีความเป็นกรด-ด่างปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงมาก มีธาตุอาหารในดินอยู่ในระดับปานกลางไปถึงสูง และมีน้ำไหลผ่านตลอดปี และ 2) พบว่าแสง LED มีผลต่อการเจริญเติบโตทางสัณฐานวิทยาและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟในอาหารแข็งสภาพปลอดเชื้ออย่างมีนัยสำคัญ จากองค์ความรู้ที่ได้จาการวิจัยทั้ง 2 เรื่องดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงออกแบบงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่มีอยู่เพื่อเพิ่มผลผลิตและเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์ในระบบโรงเรือน โดยมีการออกแบบสภาวะช่วงแสง LED วัสดุปลูก รวมถึงระบบโรงเรือนที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และผู้ประกอบการปลูกกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟสามารถเพิ่มผลผลิตทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพของวัตถุดิบในอุตสาหกรรมสารสกัดและผลิตภัณฑ์เพื่อเสริมสุขภาพจากกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ซ่อมแซมโรงเรือนเพาะชำพืชตัวอย่าง อาคารเสาวรัจนิตวรรธนะ เพื่อปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ
เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟโดยใช้เทคโนโลยีแสง LED ในระบบโรงเรือน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ (Anoectochilus burmanicus) โดยใช้เทคโนโลยีแสง LED ในระบบโรงเรือน
KPI 1 : รายงานผลการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟโดยใช้เทคโนโลยีแสง LED ในระบบโรงเรือน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เล่ม 1
KPI 2 : ซ่อมแซมโรงเรือนเพาะชำพืชตัวอย่าง อาคารเสาวรัจนิตวรรธนะ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พื้นที่ 1
KPI 3 : ร้อยละความสำเร็จของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ (Anoectochilus burmanicus) โดยใช้เทคโนโลยีแสง LED ในระบบโรงเรือน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การบริหารงานส่วนกลาง (วันที่จัดกิจกรรม 15 กุมภาพันธ์ 2564 – 30 กันยายน 2564)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/02/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏิภาณ  สุทธิกุลบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา  ตั้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุลักษณา  มงคล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ชวโรจน์  ใจสิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ภูมิสุทธาผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รุ่งทิพย์  กาวารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการ คนงาน (1 คน x 7,500 บาท x 6 เดือน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,500.00 บาท 22,500.00 บาท 15,000.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร 27500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 27,500.00 บาท 0.00 บาท 27,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : การซ่อมแซมโรงเรือนเพาะชำพืชตัวอย่าง อาคารเสาวรัจนิตวรรธนะ เพื่อปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟ สำหรับงานวิจัย (วันที่จัดกิจกรรม 15 กุมภาพันธ์ 2564 – 30 มีนาคม 2564)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/02/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏิภาณ  สุทธิกุลบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา  ตั้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุลักษณา  มงคล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ชวโรจน์  ใจสิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาซ่อมแซมโรงเรือนเพาะชำพืชตัวอย่าง อาคารเสาวรัจนิตวรรธนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 120,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 120,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 120000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้ชนิดนกคุ้มไฟโดยใช้เทคโนโลยีแสง LED ในระบบโรงเรือน (วันที่จัดกิจกรรม 1 เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏิภาณ  สุทธิกุลบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา  ตั้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา  ภูมิสุทธาผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.รุ่งทิพย์  กาวารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล