16814 : โครงการการใช้ประโยชน์จากพืชท้องถิ่นสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/2/2564 9:21:42
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการ อพสธ. 2564 140,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
นาง รัตนา  ศรีวิชัย
นาง วิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส64-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก(MOC)
เป้าประสงค์ วส64-1.7 เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตัวชี้วัด วส64-15. จำนวนพันธุ์พืชหรือสัตว์ที่ได้รับการพัฒนาพันธุ์
กลยุทธ์ วส64-1.7.1 พัฒนากระบวนการขยายพันธุ์พืชและสัตว์เชิงพานิชย์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พันธุ์พืชท้องถิ่น หมายถึงพันธุ์พืชพื้นเมือง พืชหายาก พืชเศรษฐกิจประจำถิ่น ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจและมีการนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ พืชท้องถิ่นบางชนิดเป็นพืชอาหาร บางชนิดสามารถเป็นไม้ประดับได้อย่างสวยงาม และบางชนิดมีสรรพคุณทางยา ซึ่งตามกำหนดของกระทรวงสาธารณะสุข ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ มีจำนวนทั้งสิ้น 71 รายการ ซึ่งมีสมุนไพรเป็นองค์ประกอบถึง 229 ชนิด เมื่อนำมาเทียบเคียงกับพืชสมุนไพรของล้านนาพบว่ามีพืชสมุนไพรของล้านนาถึง 154 ชนิด คิดเป็นร้อยละ 64 ในปัจจุบันพบว่าผู้บริโภคกำลังให้ความสำคัญเรื่องของสุขภาพกันมากขึ้น โดยเฉพาะการรับประทานอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี หรือการใช้พืชสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน การนำพืชที่มีอยู่เดิมในท้องถิ่นมาส่งเสริมแก่เกษตร นอกจากก่อให้เกิดรายได้แก่ชุมชนแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์พืชท้องถิ่นอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยด้านการเกษตร จึงมีความพร้อมด้านองค์ความรู้และบุคลากร สามารถขยายผลของโครงการสู่เกษตรกรเป็นสิ่งสำคัญ โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือเกษตรกรบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ รวมทั้งยังสามารถใช้เป็นสถานที่สำหรับบูรณาการ ด้านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริหารจัดการ ของมหาวิทยาลัยอย่างเต็มรูปแบบ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อเป็นการแนะนำการปลูกพืชท้องถิ่น เป็นอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกร
ผลิตภัณฑ์ชาจากพืชท้องถิ่นอย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์ชาชงพร้อมดื่ม
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ตัวชี้วัดที่ 7 ชนิดพันธุ์พืชท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ชนิด 4
KPI 4 : ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ตัวชี้วัดที่ 8 ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากพืชท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 6 : ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนผู้เยี่ยมชม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 7 : ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ตัวชี้วัดที่ 6 ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
140000 บาท 140000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์ชาชงพร้อมดื่ม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
1 ปลูกพืชท้องถิ่นพร้อมดูแลรักษา
2 เก็บเกี่ยวพืชท้องถิ่นเพื่อแปรรูป
3 ผลิตชาพร้อมจดทะเบียน อย.

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางวิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ
- จ้างเหมาปลูกพืชท้องถิ่นในกระถางจำนวน 4 ชนิด ดูแลรักษา เก็บเกี่ยวเพื่อนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ จำนวน 3 เดือนๆ ละ 7,000 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
21,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตชาพร้อมจดทะเบียน อย.
- จ้างเหมาผลิตชาชงต้นแบบ พร้อมจดทะเบียน อย. จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
60,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ดินสำเร็จรูป 120 กระสอบ ๆ 50 บาท = 6,000 บาท ถุงดำสำหรับเพาะกล้า ขนาด 4x8 นิ้ว 20 กิโลกรัมๆ ละ 50 บาท = 1,000 บาท กระถางพลาสติก 6 นิ้ว 500 ใบ ๆ ละ 6 บาท = 3,000 บาท บูเวริน 10 ขวด ๆ ละ 420 บาท = 4,200 บาท เมทาซาน 10 ขวด ๆ ละ 420 บาท = 4,200 บาท ซากุระเขียว 10 ขวด ๆ ละ 420 บาท = 4,200 บาท แสลนพรางแสง 2 ม้วน ๆ ละ 2,500 บาท = 5,000 บาทพลาสติกใสป้องกัน uv 1 ม้วนๆ ละ 6,000 บาท ปุ๋ยอินทรีย์ผง 20 กระสอบ ๆ ละ 450 บาท = 9,000 บาท สายยาง 1 ม้วน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 43,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
43,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 43,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น น้ำหมึกปริ้นเตอร์ Samsung จำนวน 2 ตลับๆละ 3,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างห้องน้ำ ถุงพลาสติกใส ถุงหูหิ้ว ถุงดำ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา ดินสอ ปากกาเมจิก กระดาษ a4 คัดเตอร์ กรรไกร เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 140000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผลผลิตด้อยคุณภาพ จนไม่สามารถนำมาแปรรูปได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กำกับ ดูแล ให้คำปรึกษากับเกษตรกรอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพตามที่ต้องการ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล