16801 : ศูนย์ประสานงานความร่วมมือเกษตรสมัยใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
นายสมยศ มีสุข (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/4/2564 10:51:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  สถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ และเอกชน เครือข่าย นักวิจัยด้าน Smart Farm
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2564 115,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. อรทัย  มิ่งธิพล
นาย สมยศ  มีสุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส64-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก(MOC)
เป้าประสงค์ วส64-1.5 มีระบบการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด วส64-13. ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ วส64-1.5.2 สร้างศูนย์บริการข้อมูลด้านบริการวิชาการและวิจัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีแนวคิด “ระบบเกษตรสมัยใหม่” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาการเกษตร ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) เป็นการดำเนินงานภายใต้คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติเศรษฐกิจการเกษตร พ.ศ.2522 แผนดังกล่าวได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์เมื่อ 26 กันยายน 2554 ซึ่งระบบเกษตรสมัยใหม่ เป็นวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่ 1 จาก 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการเกษตร ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร โดยคาดหวังให้เกษตรกรมีความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ รวมทั้งมีภูมิคุ้มกันพร้อมรับความเสี่ยงในมิติของการผลิตและการตลาด ตลอดจนมีความสามารถในการผลิตและการตลาดในระดับที่พร้อมสำหรับก้าวสู่ระบบเกษตรสมัยใหม่ หรือผู้จัดการฟาร์มมืออาชีพ ที่สามารถทำการเกษตรได้จนประสบความสำเร็จ รวมถึงการสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ทดแทนรุ่นเดิม แนวคิดระบบเกษตรสมัยใหม่ จึงเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาภาคการเกษตร คือการใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์มาตรฐานสินค้า และลดต้นทุน โดยการพัฒนาเกษตรกรรมใน 4 ด้านได้แก่ (1) ลดต้นทุน (2) เพิ่มคุณภาพการผลิตและมาตรฐานสินค้า (3) ลดความเสี่ยงจากศัตรูพืชและภัยธรรมชาติ และ (4) การจัดการและส่งผ่านความรู้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้กำหนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย (Roadmap) ระยะ 15 ปี (พ.ศ.2555 - 2569) ทั้งนี้ได้มีการวางเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาคือ การเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต” ซึ่งหมายความว่า เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้ความสำคัญกับการสร้างชีวิตที่ดีมากกว่าการสร้างวัตถุ โดยชีวิตที่ดีหมายถึง ชีวิตของชาวแม่โจ้ ทั้งบุคลากร นักศึกษา บัณฑิต และชุมชน ต้องเป็นชีวิตที่ยึดถือการเกษตรเป็นรากฐานของการพัฒนาชีวิตที่เคารพและให้ความสำคัญกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชีวิตที่ผูกพันกับประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม ชีวิตในโลกแห่งความเป็นจริงที่ต้องก้าวทัน รู้ทันเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงรวมทั้งชีวิตที่ยึดถือความดีงามและธรรมาภิบาลเป็นฐานราก เหล่านี้อยู่ภายใต้แนวคิดการพัฒนาสู่การเป็น “แม่โจ้ : มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (Maejo : University of Life)” มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันการศึกษาที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญทางด้านการเกษตรมายาวนาน และมีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ชั้นนำของประเทศไทยและของภูมิภาคอาเซียน โดยมีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 15 ปี “Maejo go Eco” เพื่อพัฒนาให้มหาวิทยาลัยมุ่งสู่การเป็น “Eco University” ที่บูรณาการการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ โดยมีหัวใจอยู่ที่ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่เป็นสุข ศูนย์ประสานงานความร่วมมือเกษตรสมัยใหม่ มีเป้าหมายพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มภายใต้แนวคิดเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ ควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปให้มีความหลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของตลาด (1) พัฒนาให้ภาคเหนือตอนบนเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ และภาคเหนือตอนล่างเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยในรูปแบบฟาร์มเกษตรสมัยใหม่ โดยส่งเสริมการลดใช้สารเคมีในภาคเกษตรเพื่อปรับระบบการผลิตจากเกษตรเคมีไปสู่การผลิตตามแนวทางเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ สนับสนุนการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาใช้ในกระบวนการผลิตรวมถึงสนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกรในการวางแผนการผลิตและการสร้างเครือข่ายการตลาดให้มีประสิทธิภาพ (2) ยกระดับอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรในพื้นที่ที่เป็นแหล่งผลิตที่สำคัญ โดยสนับสนุนให้เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน เป็นพื้นที่หลักในการแปรรูปพืชผัก ผลไม้และสมุนไพร ในขณะที่ พิจิตร กำแพงเพชรและนครสวรรค์เป็นพื้นที่หลักในการแปรรูปข้าวพืชไร่ และพืชพลังงาน โดยนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตลอดสายการผลิต และสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดเฉพาะ อาทิ อาหารเสริมเพื่อสุขภาพภายใต้แผนงานวิจัยนวัตกรรมการเกษตรและเกษตรสมัยใหม่ เป็นการสร้างนวัตกรรมใหม่ การควบรวมเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการเกษตร และเกษตรสมัยใหม่ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักวิจัยฯ จึงมีแนวคิดที่จะดำเนินการโครงการศูนย์ประสานงานความร่วมมือเกษตรสมัยใหม่ แม่โจ้ (Smart Farm) เพื่อบริหารจัดการงานบริการวิชาการและงานวิจัย รวมถึงการสนองงานโครงการพระราชดำริในด้านการเกษตรสู่เครือข่ายเกษตรกร รวมทั้ง ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ด้านเกษตรสมัยใหม่ แม่โจ้แก่หน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อจัดตั้งและพัฒนาศูนย์ประสานงานความร่วมมือเกษตรสมัยใหม่ (Smart Farm) และพัฒนางานบริการวิชาการและวิจัย
2. เพื่อวิเคราะห์สินทรัพย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตรสมัยใหม่ (Smart Farm) ด้าน supply chain /value chain ร่วมกับ stakeholders ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้และเครือข่าย
3. เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์และระเบียบ ระบบกลไกในการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ
4. สร้างเครือข่ายงานบริการวิชาการและงานวิจัยเกษตรสมัยใหม่ (Smart Farm)
5. พัฒนา Smart Farm Node ภาคเหนือตอนบน
6. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลสินทรัพย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม supply chain /value chain ในการบริหารจัดการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์ประสานงานความร่วมมือเกษตรสมัยใหม่ แม่โจ้ (Smart Farm)
KPI 1 : จำนวนฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการงานบริการวิชาการพัฒนาเกษตรสมัยใหม่ (Smart Farm) แม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 2 : จำนวนศูนย์ประสานงานความร่วมมือ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์ 1
KPI 3 : จำนวนเครือข่ายธุรกิจการเกษตรอัจริยะ (Smart Farm)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 เครือข่าย 3
KPI 4 : ร้อยละของโครงการบริการวิชาการบูรณาการงานวิจัย จากเครือข่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนเครือข่ายเกษตรกร /วิสาหกิจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เครือข่าย 5
KPI 6 : จำนวนเครือข่ายสถาบันการศึกษา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 เครือข่าย 4
KPI 7 : ร้อยละของกิจกรรมในโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมและรับบริการของเครือข่ายเกษตรสมัยใหม่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 9 : จำนวนเครือข่ายภาครัฐ และองค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรมหาชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 เครือข่าย 3
KPI 10 : ร้อยละการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับเครือข่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 11 : จำนวนชุดโครงการบริการวิชาการบูรณาการงานวิจัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ชุด 5
KPI 12 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1151 ล้านบาท 0.1151
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์ประสานงานความร่วมมือเกษตรสมัยใหม่ แม่โจ้ (Smart Farm)
ชื่อกิจกรรม :
1. วิเคราะห์สินทรัพย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม supply chain /value chain ร่วมกับ stakeholders
2. จัดประชุมเสวนา ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาและระเบียบ ระบบกลไกในการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ
3. สร้างเครือข่ายเกษตรสมัยใหม่ (Smart Farm)
4. พัฒนา Smart Farm Node ภาคเหนือตอนบน
5. พัฒนาฐานข้อมูลสินทรัพย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม supply chain /value chain ในการบริหารจัดการ
6. พัฒนาโครงการบริการวิชาการ เกษตรสมัยใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรทัย  มิ่งธิพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสมยศ  มีสุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.อนุพันธุ์  สมบูรณ์วงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมเสวนาและเจ้าหน้าที่ จำนวน 80 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมเสวนาและเจ้าหน้าที่ จำนวน 80 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 3 คน x 1,450 บาท x 1 คืน x 1 ครั้ง เป็นเงิน 4,350 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,350.00 บาท 0.00 บาท 4,350.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะสำหรับวิทยากร (เครื่องบิน) จำนวน 3 คน x 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์สินทรัพย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม supply chain /value chain ร่วมกับ stakeholders จำนวน 1 ชุดข้อมูล x 5,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาพัฒนาฐานข้อมูลสินทรัพย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม supply chain /value chain ในการบริหารจัดการ จำนวน 1 ชุดข้อมูล x 8,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง (เดินทางไปประสานงานเครือข่าย) จำนวน 4 คน x 240 บาท x 7 วัน เป็นเงิน 6,720 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,720.00 บาท 0.00 บาท 6,720.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (เดินทางไปประสานงานพัฒนาโจทย์วิจัยเครือข่าย) จำนวน 4 คน x 1,000 บาท x 3 คืน เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำฐานข้อมูลสินทรัพย์องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านเกษตรในพื้นที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 1 ชุดข้อมูล ๆ ละ 7,500 เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบแนวคิดอาคารสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่นำร่องการพัฒนาการเกษตรอัจฉริยะ จำนวน 3 พื้นที่ ๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ สวก. สวทช. ภาคธุรกิจ) บรรยาย จำนวน 3 คน ๆ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ แฟ้ม ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 8,530 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,530.00 บาท 0.00 บาท 8,530.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 115100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล