16784 : โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.วัชรินทร์ จันทวรรณ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/3/2564 13:48:50
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในโครงการพัฒนาบ้านโปง อันเนื่องจากพระราชดำริ 30 ไร่ ผู้ที่สนใจการผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์ และผู้ที่เข้าร่วมนิทรรศการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปี 2564
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2564 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วัชรินทร์  จันทวรรณ์
นาย เสกสรร  สงจันทึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 64 MJU 1.2 มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์อินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง (Organic farm & fruit)
ตัวชี้วัด 64 MJU 1.2 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
กลยุทธ์ 64 MJU 1.2.2 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University Strategy)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส64-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก(MOC)
เป้าประสงค์ วส64-1.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด วส64-11. รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ วส64-1.3.16 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนด Roadmap เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (organic university) โดยมุ่งเน้นการพัฒนางานด้านการเกษตรในระบบอินทรีย์ ซึ่งการทำเกษตรอินทรีย์นั้น สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งคือ เมล็ดพันธุ์พืชควรเป็นเมล็ดพันธุ์ที่มาจากระบบเกษตรอินทรีย์ เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการทำเกษตรอินทรีย์อย่างแท้จริง ตั้งแต่กระบวนการแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย เนื่องจากเมล็ดพืชทั่วไปที่จำหน่ายตามท้องตลาดส่วนใหญ่เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตในระบบเกษตรเคมี ซึ่งพืชหลายชนิดมีสารเคมีตกค้างเกินค่ามาตรฐานและเป็นพืชกลุ่มเสี่ยง เช่น ถั่วฝักยาว คะน้า พริก มะเขือเทศ หรือแม้กระทั่งข้าวโพด ดังนั้นการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอินทรีย์จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของการทำเกษตรในระบบอินทรีย์ และในปัจจุบันผู้บริโภคยังให้ความสนใจอาหารปลอดภัย อาหารเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างแพร่หลาย อีกทั้งเมล็ดพันธุ์พืชผักอินทรีย์ที่ให้บริการแก่เกษตรกร ชาวสวน และผู้ที่สนใจ เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ต่อได้เอง ซึ่งสอดคล้องกับ หลักการของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพึ่งพาตนเอง มีหลักการจัดการที่ดีเพื่อสามารถดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงกับแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบเกษตรอินทรีย์ ดำเนินกิจกรรม ณ โครงการพัฒนาบ้านโปง อันเนื่องจากพระราชดำริ 30 ไร่ จำนวนพื้นที่ 2.8 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขั้นพื้นฐานของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements หรือ IFOAM เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งถือเป็นสถานที่สำหรับบูรณาการด้านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเป็นแหล่งการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอินทรีย์ อีกทั้งยังเป็นช่องทางประชาสัมพันธ์และหารายได้ให้กับหน่วยงาน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบเกษตรอินทรีย์
2 เป็นแหล่งเรียนรู้และแนะนำการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบเกษตรอินทรีย์
3 เกษตรกรและผู้ที่สนใจสามารถพัฒนาและผลิตเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง สามารถพึ่งพาตนเองได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์
KPI 1 : เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 กิโลกรัม 100
KPI 2 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : เป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ไร่ 2
KPI 4 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 บาท 100000
KPI 6 : พื้นที่ต้นแบบการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 ไร่ 2
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : เมล็ดพันธุ์แตงกวาอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 กิโลกรัม 10
KPI 9 : เป็นแหล่งเรียนรู้และแนะนำการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในระบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 10 : เมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาวอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 กิโลกรัม 100
KPI 11 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
KPI 12 : ชุดเมล็ดพันธุ์อินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1500 1500 2000 ชุด 5000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
ผลผลิต : การผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์
- การผลิตเมล็ดพันธุ์แตงกวาอินทรีย์
- การผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาวอินทรีย์
- การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานอินทรีย์
- ชุดเมล็ดพันธุ์อินทรีย์

ค่าจ้างเหมาด้านการเกษตร การดูแลแปลงปลูก เก็บเกี่ยวและแปรรูปเมล็ดพันธุ์ จำนวน 42,000 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ติดซองเมล็ดพันธุ์ จำนวน 150 แผ่น x 35 บาท = 5,250 บาท
ค่าวัสดุเกษตร เช่น เช่น ถาดเพาะกล้า จำนวน 1 กล่อง x 1,800 บาท = 1,800 บาท
พลาสติกคลุมแปลง จำนวน 2 ม้วน x 1,300 บาท = 2,600 บาท วัสดุเพาะกล้า จำนวน19 กระสอบ x 390 บาท = 7,410 บาท ขี้วัว จำนวน 200 กระสอบ x 40 บาท = 8,000 บาท
ไม้ค้างแตงกวา 2,000 เล่ม x 4 บาท = 8,000 บาท ตาข่ายไนลอน 20 ม้วน x 120 บาท = 2,400 บาท เทปน้ำหยด จำนวน 1 ม้วน x 2,000 บาท =2,000 บาท
ปุ๋ยอินทรีย์ผง 10 กระสอบ x 450 บาท 4,500 บาท เชือกไนล่อน 20 ม้วน x 120 บาท =2,400 บาท ขุยมะพร้าว 11 กระสอบ x 90 บาท = 990บาท
สารกำจัดหนอนชีวภาพอินทรีย์ (BT) จำนวน 6 ขวด x 500 บาท 3,000 บาท
ป้ายแทค 1 แพ็ค x 170 บาท = 170 บาท
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น เช่น กระดาษ A4 1 กล่อง x 600 บาท = 600 บาท แฟ้มห่วง 1 โหล x 1,080 บาท = 1,080
และค่าถ่ายเอกสาร 1,000 บาท
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น เช่น ถุงฟอยด์ซีส 3 ด้าน ขนาด 100 มิลลิเมตร 5,000 ใบ x 1 บาท = 5,000 บาท
ซองซิปใสขนาด 5 x 7 ซม. 6 กก. X 300 บาท = 1,800 บาท

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/01/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วัชรินทร์  จันทวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเสกสรร  สงจันทึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาด้านการเกษตร การดูแลแปลงปลูก เก็บเกี่ยวและแปรรูปเมล็ดพันธุ์ จำนวน 42,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 42,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 42,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ติดซองเมล็ดพันธุ์ จำนวน 150 แผ่น x 35 บาท = 5,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 43,270.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 43,270.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
เช่น กระดาษ A4 1 กล่อง x 600 บาท = 600 บาท แฟ้มห่วง 1 โหล x 1,080 บาท = 1,080
และค่าถ่ายเอกสาร 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,680.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,680.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
เช่น ถุงฟอยด์ซีส 3 ด้าน ขนาด 100 มิลลิเมตร 5,000 ใบ x 1 บาท = 5,000 บาท
ซองซิปใสขนาด 5 x 7 ซม. 6 กก. X 300 บาท = 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,800.00 บาท 0.00 บาท 6,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สภาพอากาศที่มีความแปรปรวน เช่น มีฝนตกหนักหรือฝนทิ้งช่วง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปลูกพืช
โรคและแมลงที่เข้าทำลายพืช
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
แผนการทำงานที่มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนแผน ให้เกิดความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
หมั่นตรวจสอบ โรคและแมลง รวมทั้งดูแลรักษาความสะอาดภายในแปลงอยู่เสมอ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล