16699 : โครงการวางแผนต้นทุนทางการเกษตร สำหรับกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาตม อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/1/2564 9:35:31
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาตม อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ สรียา  ทรัพย์ศิริ
อาจารย์ กรรณิการ์  มอญแก้ว
อาจารย์ ธีราพัฒน์  จักรเงิน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 64-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 64-3.1.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64-3.1.4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นหน่วยงานหนึ่งภายใต้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมหาวิทยาลัย ได้กำหนดเส้นทางยุทธศาสตร์การพัฒนา (Flagships) ออกเป็น 3 ช่วงระยะเวลาการพัฒนา ประกอบด้วย 1) มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์(Organic University) 2) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) 3) มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco University) โดยทั้ง 3 ช่วงระยะการพัฒนา จะตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิดเดียวกัน หากแต่ให้ความสำคัญในมิติที่แตกต่างกัน ดังนี้คือ ในด้านการเกษตร มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ คือ เป็นการเกษตรที่เคารพและเป็นมิตรกับธรรมชาติลด ละ เลิกการใช้สารเคมี มีการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและรับผิดชอบ ในด้านกายภาพ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม การมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดย การปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพ และรักษาสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยและชุมชน ให้มีความสมดุลกับธรรมชาติตาม เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยเป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางสายกลาง ความไม่ประมาท ไม่ฟุ่มเฟือย คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันให้ตัวเอง ตลอดจนการใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต โดยมีใจความสำคัญคือสติ ปัญญา และความเพียร ซึ่งเป็นบันไดสู่ความสุขในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง ในปัจจุบันการปลูกข้าวอินทรีย์ เป็นระบบการปลูกข้าวที่ไม่ใช้สารเคมีทางการเกษตรทุกชนิดเป็นต้นว่า ปุ๋ยเคมี สารควบคุมการเจริญเติบโต สารควบคุมและกำจัดวัชพืช สารป้องกันกำจัดโรค แมลงและสัตว์ศัตรูข้าว ตลอดจนสารเคมีที่ใช้รมเพื่อป้องกันกำจัดแมลงศัตรูข้าวในโรงเก็บ การผลิตข้าวอินทรีย์นอกจากจะทำให้ได้ผลผลิตข้าวที่มีคุณภาพสูงและปลอดภัยจากสารพิษแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและเป็นการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนอีกด้วย ซึ่งแต่ละขั้นตอนการปลูกข้าวอินทร์ไม่ว่าจะเป็น การเลือกพื้นที่ปลูก การเลือกใช้พันธ์ข้าว การเตรียมเมล็ดพันธ์ข้าว การเตรียมดิน วิธีการปลูก การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระบบการปลูกพืช การกำจัดวัชพืช การป้องกันการกำจัดโรค แมลง การจัดการน้ำ การเก็บเกี่ยว การนวดลดความชื้น การเก็บรักษาข้าวเปลือก การสี การบรรจุหีบห่อเพื่อการค้า ทุกขั้นการการผลิตข้าวอินทรีย์เป็นระบบการปลูกที่เกษตรที่เน้นเรื่องของธรรมชาติเป็นสำคัญแต่เกษตรยังพบปัญหาในเรื่องของค่าใช้จ่ายที่สูง อันเนื่องมาจากขั้นตอนการปลูกใช้ระยะเวลาในการดูแลรักษาและคนจำนวนมาก บางรายไม่ได้มีแผนการปลูก บางรายไม่มีการจดบันทึกจำนวนเงินที่ใช้จ่ายที่แน่นอน ทำให้เกิดการคลาดเคลื่อนเรื่องการต้นทุน และการกำหนดราคาขายเพื่อให้ได้กำไร ถ้าหากเกษตรกรมีระบบบัญชี และการบริหารแปลงปลูกที่ดีจะช่วยควบคุมด้านต้นทุน ลดต้นทุนที่ไม่จำเป็น เนื่องจากระบบบัญชีสามารถช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินให้กับเกษตรกรได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีโครงการหลายโครงการที่ส่งเสริมให้เกษตร เลือกมาปลูกข้าวอินทร์เพื่อลดการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย โดยในจังหวัดแพร่เป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีเกษตรผู้ปลูกข้าวอินทร์และผ่านการตรวจรับรองพื้นที่โดยกรมการข้าว มีพื้นที่อำเภอสูงเม่น และอำเภอวังชิ้น ผู้จัดทำโครงการจึงได้เห็นถึงความสำคัญของ การวางแผนต้นทุนทางการเกษตร สำหรับกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาตม ตำบลน้ำชำ อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จำนวน 30 ราย พื้นที่ปลูกโดยกลุ่มเกษตรกรสามารถนำข้อมูลที่ได้จาก เพื่อใช้วิเคราะห์ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ จัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีระเบียบ เรียกใช้ข้อมูลได้ทันทีที่ต้องการสามารถเรียกดูข้อมูลที่ต้องการย้อนหลังจนถึงปัจจุบันได้ทันที ช่วยในการบริหารแปลงปลูก และกำหนดราคาขายอย่างถูกต้องในแปลงปลูกข้าวอินทรีย์ของเกษตรกร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 ให้ความรู้เกษตรกรความรู้เบื้องต้นในการทำธุรกิจเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และการบัญชีสำหรับเกษตรกร
2 ให้ความรู้เกษตรกรด้านการวิเคราะห์ความแตกต่างของต้นทุน วางแผนต้นทุนทางการผลิตสินค้าเกษตร
3 ให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษาด้านการวิเคราะห์ต้นทุนให้แก่กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาตม อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์มีความรู้เรื่องการนำข้อมูลทางการเงินจากระบบบัญชีไปบริหารงานได้อย่างรวดรวดเร็ว
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ต้นทุนที่ประหยัดได้จากการวางแผนการปลูกข้าวต่อแปลง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2000 บาท 2000
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละของความรู้ความเข้าใจ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้อบรมในกระบวนการได้รับความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของการอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์มีความรู้เรื่องการนำข้อมูลทางการเงินจากระบบบัญชีไปบริหารงานได้อย่างรวดรวดเร็ว
ชื่อกิจกรรม :
การอบรม เรื่อง การศึกษาบริบทของกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาตม อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์สรียา  ทรัพย์ศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กรรณิการ์  มอญแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 3,600
3. ค่าจ้าเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 2 x3 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
4. ค่าเช่าสถานที่ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 500 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 500 บาท
5. ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง (รถยนต์ส่วนตัว) ระยะทาง 150 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12400.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรม ความรู้เบื้องต้นในการทำธุรกิจเกษตร การบัญชีสำหรับเกษตรกร การวิเคราะห์ความแตกต่างของต้นทุน วางแผนต้นทุนทางการผลิตสินค้าเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์สรียา  ทรัพย์ศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กรรณิการ์  มอญแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 3,600
3. ค่าจ้าเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 2 x3 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
4. ค่าเช่าสถานที่ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 500 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 500 บาท
5. ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง (รถยนต์ส่วนตัว) ระยะทาง 150 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกา ดินสอ เป็นเงิน 4,100 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้นเตอร์ เป็นเงิน 4,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25700.00
ชื่อกิจกรรม :
คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษาด้านการวิเคราะห์ต้นทุนให้แก่กลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์สรียา  ทรัพย์ศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กรรณิการ์  มอญแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 3,600
3. ค่าเช่าสถานที่ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 500 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 500 บาท
4. ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง (รถยนต์ส่วนตัว) ระยะทาง 150 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาด้าน Covid 19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินงานตามเวลาที่กำหนดตอนแรกได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล