16681 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปวีณา ลิมป์กาญจนวัฒน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/12/2563 15:23:53
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  8000  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร ชุมชนเครือข่ายอินทรีย์ และผู้ที่มีความสนใจการผลิตพืชอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ฟาร์มมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน งบโครงการบริการวิชาการปี2564 2564 1,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. สุรชัย  ศาลิรัศ
นาย สถาพร  ฉิมทอง
นาย สรเดช  จันทร์เที่ยง
นาย กฤษณโชติ  ประชาโรจน์
นาย ธนภัทร  เย็นมาก
นาย ณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันนโยบายของรัฐบาลได้น้อมนำพระราชกระแสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ที่ทรงให้ติดตาม ขับเคลื่อน และเร่งรัด รวมทั้งแก้ไขปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของรัชกาลที่ 9 ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ บังเกิดประโยชน์สูงสุดกับราษฎร และเพื่อให้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสำเร็จตามวัตถุประสงค์ รวมทั้งน้อมนําศาสตร์พระราชามาใช้ในการบริหารจัดการดิน น้ำ ป่า ของประเทศ ทั้งในด้านเกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎิใหม่ ซึ่งเป็นหัวใจหลักของการเกษตร ที่ทำให้ราษฎร อยู่อย่างพอเพียงตามแนวทางของในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ก็ได้น้อมนำเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้มีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ครั้งที่ 17 ณ สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2538 ความว่า การเกษตรนั้นเป็นทั้งรากฐานและชีวิตสำหรับประเทศของเรา และเกษตรกรรมในยุคปัจจุบันนี้จำเป็นต้องได้รับการวางแผน และพัฒนาอย่างถูกต้อง ทุกคนจึงควรจะได้ถือเป็นภาระหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันศึกษาค้นคิดและปฏิบัติทดลอง หาวิธีการที่ดีที่เหมาะสมยิ่งๆ ขึ้น เพื่อให้การเกษตรในประเทศของเราได้พัฒนาก้าวหน้าไปได้อย่างมั่นคง ทฤษฎีใหม่เป็นวิธีปฏิบัติการเกษตรอีกแนวทางหนึ่งที่คิดค้นขึ้นสำหรับเกษตรกรที่มีที่ดินจำนวนน้อย หรือแปลงขนาดเล็ก มีหลักสำคัญอยู่ว่า แต่ละแปลงจะแบ่งออกเป็นส่วนๆ สมมุติว่าแปลงหนึ่งมี 15 ไร่ จะปลูกข้าว 5 ไร่ ปลูกไม้ผล พืชไร่ หรือพืชผักสวนครัว 5 ไร่ ขุดสระน้ำ 3 ไร่ ปลูกที่อยู่อาศัยและอื่นๆ อีก 2 ไร่ วิธีนี้ได้ทดลองปฏิบัติขั้นแรกมานานพอสมควร และได้ผลดีที่น่าพอใจระดับหนึ่ง คือเกษตรกรมีข้าวบริโภคเพียงพอตลอดปี และมีรายได้พอเลี้ยงตัวเองได้ต่อไปหากจะให้ได้ผลที่ยิ่งสมบูรณ์ขึ้น ในขั้นที่สอง ก็จะต้องรวมกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ด้วยความร่วมมือของหน่วยราชการ มูลนิธิ และเอกชน เพื่อช่วยเหลือในด้านการผลิต การตลาด การเป็นอยู่ต่างๆ และในขั้นที่สาม จะต้องร่วมมือกับสถาบันการเงินและการพลังงาน เพื่อช่วยเหลือด้านการจัดตั้ง และบริหารโรงสี ร้านสหกรณ์ รวมทั้งสนับสนุนการลงทุน …” โดยฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้น้อมน้อมนำ พระราชดำริ ให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดูแลเกษตรกร ครั้ง ที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จ พื้นที่ บ้านโปง หมู่ 6 ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ถึง 4 ครั้ง โดยในปัจจุบัน ฟาร์มมหาวิทยาลัย ได้มีกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมการทำเกษตรผสมผสาน การผลิตปุ๋ยไว้ใช้เอง การผลิตพืช ต่างๆ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้กับเกษตรกร ผู้สนใจ เข้าเรียนวิธีการผลิตพืช ที่ปลอดภัย ทำให้ลดต้นทุนการผลิต ไม่มีผลกระทบต่อ ดิน น้ำ และนำไปต่อยอด เพื่อสร้างอาชีพให้แก่เกษตรกรในอนาคตต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำการเกษตรแบบผสมผสาน
เพื่อเป็นฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย
เพื่อเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการให้กับเกษตรกร ผู้ผลิต ในการผลิตพืชอย่างถูกวิธี ก่อให้เกิดองค์ความรู้และการบริหารจัดการที่ดี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้มารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรผสมผสานและเกษตรอินทรีย์ฟาร์มมหาวิทยาลัย(ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจาการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ล้านบาท 1
KPI 7 : จำนวนผู้เข้ามาศึกษาดูงานในฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
8000 คน 8000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตพืชในรูปแบบเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
- ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน
- ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตผักสด
- ฐานการเรียนรู้การผลิตไม้ดอก (เก๊กฮวยอินทรีย์)
-ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพ เพื่อชุมชน
-ฐานเรียนรู้การผลิตมะม่วงอินทรีย์เชิงพาณิชย์
-ฐานเรียนรู้การผลิตกิ่งพันธุ์ไม้ผลรับรองพันธ์
ขั้นตอนการดูแลรักษา
- กำจัดวัชพืชในแปลงปลูก
- ตัดแต่งกิ่งเสริมสร้างความสมบูรณ์
- ใส่ปุ๋ยบำรุง และให้น้ำ
- พ่นสารชีวภัณฑ์ ป้องกันโรคและแมลง
- เก็บเกี่ยวผลผลิต
เก็บข้อมูลผู้มาศึกษาดูงานและสรุปผลจัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.สุรชัย  ศาลิรัศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสถาพร  ฉิมทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธนภัทร  เย็นมาก (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสรเดช  จันทร์เที่ยง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกฤษณโชติ  ประชาโรจน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการพ่นสารชีวพันธ์ ลำไย -จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาบริการพ่นสารชีวพันธ์ มะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาบริการห่อผลมะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 110,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 110,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการทำโคนต้น มะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาบริการตัดแต่งกิ่ง มะม่วง จำนวน 20 ไร่ ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาบริการเก็บผลผลิตและคัดเกรดมะม่วง จำนวน 20 ๆ ไร่ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 110,000.00 บาท 0.00 บาท 110,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการตัดแต่งกิ่ง ลำไย จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาบริการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ลำไย จำนวน 10 ไร่ ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 60,000.00 บาท 40,000.00 บาท 50,000.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงานได้แก่ กระดาษเอ 4 เครื่องเขียน สันรูด แฟ้มรายงาน ค่าถ่ายเอกสาร ฯล เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุคอมพิวเตอร์ ได้แก่ หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุก่อสร้าง ได้แก่ ท่อ PVC ปูน ข้อต่อ ข้องอ พีวีซี อิฐบล็อก เหล็กเส้น (4หุน) ท่อ PE ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น-วัสดุเพาะกล้า ถาดเพาะกล้า ขุยมะพร้าว ไม้ค้าง เข่ง คราด พลั่ว, ช้อนพรวน ตอกเสียบแปลง ต้นกล้าพืชผัก เมล็ดพันธุ์พืชผัก มูลวัว ไม้ไผ่ ปุ๋ยอินทรีย์ ดินดำ แกลบดิบ เปลือกถั่ว ตาข่ายพรางแสง ไตรโคเดอร์มา บิววาเรีย พลาสติกมุงหลังคา มูลไก่ มูลวัว ปุ๋ยอินทรีย์ ถุงห่อมะม่วง ฯลฯ เป็นเงิน 495,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 495,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 495,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1000000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ยังคงรุนแรง จึงทำให้มีผู้เข้าร่วมศึกษาฐานเรียนรู้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
อาจะมีการนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล