16610 : โครงการพัฒนาศักยภาพกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.ศุภลักษณ์ ดีน้อย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/3/2564 14:40:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้สนใจ ในพื้นที่อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปีงบประมาณ 2564 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี กิติพงษ์  ขัติยะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA64 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ LA64-2.4.1 มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต ของท้องถิ่นชุมชนที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตัวชี้วัด LA642.3.1- ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ LA64-2.3.1-2 ส่งเสริมความร่วมมือการจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไปเป็นจำนวนมาก และเป็นกลุ่มประชากรที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยปัจจุบันพบว่า ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว ตั้งแต่ปี 2553 คือ จากจำนวนประชากร 67.4 ล้านคน มีผู้สูงอายุสูงถึง 8.01 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ11.9 ของประชากรทั้งหมด และคาดว่าประเทศไทยจะเป็น “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ในปีพ.ศ. 2564 คือ ประชากรสูงอายุจะเพิ่มขึ้นถึง 1 ใน 5 และเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายในปีพ.ศ. 2578 โดยประมาณการว่า จะมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของจํานวนประชากรทั้งหมด และมีแนวโน้มที่จะมีจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งการเป็นผู้สูงอายุจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรายได้ที่ลดลงหรือขาดหายไปเพราะต้องหยุดทำงาน การปรับตัวเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัว และสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข หรือการต้องเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพซึ่งมีแต่จะเสื่อมถอยไปตามวัย จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนี้ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ ทั้งนี้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักมีโรคเรื้อรังซึ่งพบมาก คือ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ อัมพฤกต์ หลอดเลือดสมองตีบ โรงมะเร็ง และโรคซึมเศร้า เป็นต้น (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,2551) และอุบัติการณ์ดังกล่าวมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต อันจะส่งผลต่อสุขภาวะองค์รวมของผู้สูงอายุ ซึ่งรัฐบาลได้ให้ความสำคัญต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ด้วยการตราพระราชบัญญัติผู้สูงอายุขึ้น โดยมีการกำหนดอย่างชัดเจนให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ อาทิ การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน การอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นต้น ยังมีสิ่งสำคัญที่ต้องตระหนัก คือ ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า เปี่ยมล้นไปด้วยประสบการณ์ชีวิตและองค์ความรู้ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นรากฐานที่สำคัญในการที่จะสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครอบครัว ชุมชน สังคม เพราะการได้รับการศึกษาหรือการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้บุคคลสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี สามารถนำสาระความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ส่งผลให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองให้ดีขึ้น การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) ถือเป็นแนวทางซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทุกองค์กรทั่วโลกซึ่งกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายเป็นวิธีหนึ่งที่จะสามารถช่วยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นผู้ที่มีสุขภาพองค์รวมที่ดี โดยกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายจะต้องมีความหลากหลาย ผสมผสานภูมิปัญญาไทยกับศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชุมชน กิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายมีความสนุกสนาน นำมาให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี ตามแนวทางการดำเนินชีวิตเพื่อสร้างเสริมสุขภาพพอเพียงจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสืบสานพระราชดำริตามปฐมกษัตริย์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้นำชุมชนที่มีความเข็มแข็งในการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และเป็นผู้นำการออกกำลังกายให้ผู้สูงอายุและชุมชนได้
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้นตามแนวทางการดำเนินชีวิตเพื่อสร้างเสริมสุขภาพพอเพียง
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยสู่ชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสมรรถภาพทางกายและสุขภาพทางจิตที่ดีขึ้น
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 7 : ผู้สูงอายุมีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสมรรถภาพทางกายและสุขภาพทางจิตที่ดีขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1
การอบรมด้านสุขภาพและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ณ บ้านแม่โจ้ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/11/2563 - 02/03/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนาพร  ขันธบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรีกิติพงษ์  ขัติยะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 1 มื้อ X 3 วัน เป็นเงิน 3,150 บาท

- ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล
ขนาด 3 x 12 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,750.00 บาท 3,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 5 คน ๆ ละ 1 ชม ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
จำนวน 4 คน ๆ ละ 100 บาท x 3 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท

- ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
จำนวน 4 คน ๆ ละ 200 บาท x 3 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุกีฬา
เมดิซินบอลยาง,ดัมเบลหุ้มยาง สปริงบีบรูปไข่ จานทวิสเหล็กใหญ่ฯลฯ เป็นเงิน 23,300 บาท

-ค่าวัสดุสำนักงาน
กระดาษ แฟ้ม ปากกา ถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 26,300.00 บาท 26,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 38450.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2
การอบรมด้านสุขภาพและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ณ บ้านแม่โจ้ใหม่ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/11/2563 - 02/03/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนาพร  ขันธบุตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรีกิติพงษ์  ขัติยะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 1 มื้อ X 3 วัน เป็นเงิน 3,150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,150.00 บาท 3,150.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 5 คน ๆ ละ 1 ชม ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

-ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
จำนวน 4 คน ๆ ละ 100 บาท x 3 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท

-ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
จำนวน 4 คน ๆ ละ 200 บาท x 3 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 8,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11550.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การจัดโครงการ ไม่พบปัญหาอุปสรรค เนื่องจากในการลงพื้นที่จัดโครงการ ได้รับการประสานงานเป็นอย่างดีของผู้นำชุมชน อาทิ ประธานผู้สูงอายุอำเภอสันทราย กลุ่มอสม. เป็นต้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล