16565 : โครงการจัดตั้งสวนพฤกษ์เศรษฐศาสตร์ เพื่อรวบรวมและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านภาคเหนือ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.เบญจวรรณ จันทร์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/1/2564 14:54:33
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/02/2564  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ) 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64ECON-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64ECON 2.5 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 64ECON 2.23 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 64ECON 2.23.1 ให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูกนำมาใช้เป็นจำนวนมาก ทั้งทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรดิน รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพที่มีการเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับปัจจุบันมีกระแสการยกระดับนวัตกรรมด้านสมุนไพร ซึ่งได้มีการพัฒนาและวิจัยเพื่อนำสมุนไพรไทยไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ จำนวนมาก อาทิ กลุ่มผลิตเครื่องสำอาง อาหารเสริม รวมถึงยาสมุนไพรรักษาโรค มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนทางด้านการเกษตร และมีพันธกิจในการสร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เชิงบูรณาการด้านการเกษตร เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ค้นคว้า และรวบรวมองค์ความรู้ด้านการเกษตร ที่เป็นศาสตร์ผสมผสานสอดคล้องกับวัฒนธรรมพื้นที่ ประกอบกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่มีการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นการสร้างผู้ที่มีความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ รวมถึงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่ครอบคลุมในด้านที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับการเกษตรที่เป็นรากฐานสำคัญของสังคมไทย เพื่อให้ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง มีความเข้าใจในหลักการและพื้นฐานทางการเกษตรโดยผ่านการปฏิบัติ ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งคณะเศรษฐศาสตร์ได้รับการจัดสรรพื้นที่ภายในสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สำหรับใช้เป็นสถานที่ฝึกงานของนักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ โดยมีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ โดยที่ผ่านมาได้มีการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ ซึ่งมีการดำเนินโครงการในพื้นที่มาตั้งแต่ปี 2558 โดยได้ดำเนินโครงการกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การปลูกต้นไม้ผล เช่น มะม่วง ลำไย กล้วย เป็นต้น การเพิ่มพื้นที่ป่า โดยการจัดสรรพื้นที่ส่วนหนึ่งเพื่อปลูกป่าและรวบรวมพันธุ์ไม้ ตลอดจนแปลงปลูกพืชผักสวนครัว ประกอบกับการให้ความสำคัญด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และกรอบการสนับสนุนการวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้การพัฒนาในพื้นที่ดังกล่าวมีความต่อเนื่องและเป็นการตอบสนองต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัยในการสร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เชิงบูรณาการด้านการเกษตร เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ค้นคว้า และรวบรวมองค์ความรู้ด้านการเกษตร ดังนั้นจึงมีความประสงค์จะดำเนินโครงการจัดตั้งสวนพฤกษ์เศรษฐศาสตร์ เพื่อรวบรวมและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านภาคเหนือ ณ ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ โดยจะมีการดำเนินการอบรมเพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน รวมถึงการสำรวจ และรวบรวมพืชสมุนไพรพื้นบ้าน โดยสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้ หน่วยงานภาครัฐ และชุมชนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการร่วมกันอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน ตลอดจนการเป็นแหล่งให้หน่วยงาน องค์กรท้องถิ่น และผู้สนใจ นำไปต่อยอดการใช้ประโยชน์ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดตั้งสวนพฤกษศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เป็นแหล่งเรียนรู้ รวบรวมและขยายพันธุ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน ให้แก่นักศึกษา ชุมชน หน่วยงานท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ
KPI 1 : ระดับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านของกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 2 : จำนวนสวนพฤกษศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แห่ง 1
KPI 3 : จำนวนพืชสมุนไพรพื้นบ้านที่ได้รับการรวบรวม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 15 ชนิด 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เป็นแหล่งเรียนรู้ รวบรวมและขยายพันธุ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน ให้แก่นักศึกษา ชุมชน หน่วยงานท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ
ชื่อกิจกรรม :
รวบรวมและขยายพันธุ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน ในพื้นที่จัดตั้งสวนพฤกษศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/02/2564 - 30/06/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15000.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมให้ความรู้และปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 12/07/2564 - 20/08/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ) เป็นเงินจำนวน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 50 คนๆ ละ 35 บาท จำนวน 1 มื้อ) เป็นเงินจำนวน 1,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,750.00 บาท 1,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 คน) เป็นเงินจำนวน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม เป็นเงินจำนวน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 9350.00
ชื่อกิจกรรม :
จัดตั้งสวนพฤกษศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/02/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายชื่อสมุนไพร เป็นเงินจำนวน 10,450 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,450.00 บาท 10,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,200.00 บาท 15,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25650.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพร
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานเครือข่ายความร่วมมือกับอาจารย์คณะผลิตกรรมการเกษตร ที่เชี่ยวชาญด้านพืชสมุนไพรเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินโครงการ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล