16437 : โครงการต้นแบบการยกระดับคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมที่เป็นมิตรด้านสิ่งแวดล้อม (Green Farm) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์วิชชุดา เอื้ออารี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/2/2564 14:02:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้ง นักศึกษาและผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วิชชุดา  เอื้ออารี
อาจารย์ ดร. เชษฐ์  ใจเพชร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากพระราชกรณียกิจในด้านการพัฒนาการเกษตร มิได้เป็นพระราชภารกิจ ที่ถูกกําหนดไว้ว่า “เป็นหน้าที่โดยตรงของพระมหากษัตริย์” แต่การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงงานและทรงริเริ่มสร้างโครงการต่างๆ ในด้านการ พัฒนาเกษตรขึ้นมากมายโดยต่อเนื่อง ก่ออุปการประโยชน์แก่เกษตรกรและ สังคมไทยอย่างกว้างขวาง เป็นสิ่งสะท้อนความสนพระราชหฤทัยในกิจการนั้น เป็นพิเศษ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตและส่งออกกุ้งอันดับต้นๆของโลก ซึ่งกระบวนการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลหรือกุ้งกุลาดำได้ชื่อว่าเป็นตัวการสร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง อีกทั้งยังมีการพัฒนาวิธีการเพิ่มผลผลิตและขยายตัวของแหล่งเพาะพันธ์ย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับสัตว์น้ำชนิดอื่น เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงมักนิยมในการเลี้ยงด้วยการปล่อยน้ำทิ้งลงในแหล่งน้ำธรรมชาติโดยตรง โดยไม่คิดถึงว่าธรรมชาติมีขีดจำกัดในการรองรับน้ำเสีย ไม่ว่าจะเป็นการดูดเลน หรือดูดขี้กุ้งลงแหล่งน้ำธรรมชาติระหว่างการเลี้ยง หรือฉีดเลนลงแม่น้ำลำคลอง เมื่อต้องการจะเตรียมบ่อ จึงเป็นสาเหตุทำให้แหล่งน้ำธรรมชาติเกิดมลภาวะและตื้นเขิน พื้นดินมีอินทรีย์วัตถุสูง เมื่อดำเนินการเลี้ยงใหม่ ของเสียเหล่านี้ก็จะกลับเข้าสู่บ่อเลี้ยงอีกครั้ง และจะเป็นสาเหตุของโรคตายเดือน และเกิดแพลงค์ตอนหนาแน่นมาก การควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหามลพิษ เป็นสิ่งที่ต้องตระหนักอย่างมากถึงผลกระทบจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งนี้ ควรมีการศึกษาแนวทางการบำบัดน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งในพื้นที่อำเภอละแม จังหวัดชุมพรและแนวทางการควบคุมเลนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกระบวนการจัดการน้ำเสีย การจัดการของเสีย รวมทั้งการจัดการน้ำโดยองค์รวมสวามารถทำได้หลายมิติ ซึ่งในมิติของการบำบัดน้ำเสีย สามารถนำพืชในท้องถิ่นมาใช้ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียดังกล่าวได้ สว่นในมิติของการจัดการของเสีย รวมทั้งตะกอนจากฟาร์มกุ้ง ผลพลอยได้สามารถนำไปเพิ่มมูลค่าใช้เป็นปุ๋ยสำหรัยต้นไม้ได้อีกด้วย อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการบำบัดน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งมิให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับฟาร์มของเกษตรกรได้ และสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อการจัดการคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้ง นักศึกษาและผู้ที่สนใจ
2 เพื่อสำรวจการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการของเสียที่เกิดจากกระบวนการเพาะพันธุ์กุ้งของกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้ง นักศึกษาและผู้ที่สนใจ
3 เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างเกษตรกรฟาร์มกุ้ง อาจารย์ และวิทยากรภายนอก เพื่อการพัฒนาจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของฟาร์มกุ้ง
4 เพื่อเป็นโครงการต้นแบบการยกระดับคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมที่เป็นมิตรด้านสิ่งแวดล้อม (Green farm) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้ง นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้น มิได้เน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเป็นสําคัญ แต่ทรงให้ความสำคัญ และเน้นการพัฒนา ในทุกด้านอย่างสัมพันธ์กัน ทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาด้านสังคม รวมทั้งการอนุรักษ์ และทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งแนวพระราชดำริในการพัฒนาเช่นนี้ จะเป็นผลให้เกิดความสมดุลต่อการพัฒนาประเทศ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. เกิดกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้งที่สามารถเป็นต้นแบบการยกระดับคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมที่เป็นมิตรด้านสิ่งแวดล้อม (Green farm) และเกิดองค์ความรู้ใหม่ในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของฟาร์มกุ้งอย่างยั่งยืน ที่ได้จากการจัดอบรมจากผู้เชี่ยวชาญ วิทยากรทั้งจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และวิทยากรรับเชิญภายนอก อีกทั้งยังทราบถึงวิธีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมทางน้ำ มีทักษาในการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาทั้งทางด้านการบำบัดน้ำเสยีเพื่อพัมนาให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมมีความสะอาดเทียบเท่ามาตรฐานชองกรมควบคุมมลพิษและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้น้ำเลี้ยงกุ้งอย่างมีคุณค่าสูงสุด
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : กลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้ง นักศึกษา และผู้ที่สนใจมีวิธีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมทางน้ำ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาทั้งทางด้านการบำบัดน้ำเสียเพื่อพัฒนาให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมมีความสะอาดเทียบเท่ามาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้น้ำเลี้ยงกุ้งอย่างมีคุณค่าสูงสุด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : เกิดกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้งที่สามารถเป็นต้นแบบการยะระดับคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมที่เป็นมิตรด้านสิ่งแวดล้อม (Green Farm)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กลุ่ม 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 9 : องค์ความด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของฟาร์มกุ้งอย่างยั่งยืน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. เกิดกลุ่มเกษตรกรฟาร์มกุ้งที่สามารถเป็นต้นแบบการยกระดับคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมที่เป็นมิตรด้านสิ่งแวดล้อม (Green farm) และเกิดองค์ความรู้ใหม่ในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของฟาร์มกุ้งอย่างยั่งยืน ที่ได้จากการจัดอบรมจากผู้เชี่ยวชาญ วิทยากรทั้งจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และวิทยากรรับเชิญภายนอก อีกทั้งยังทราบถึงวิธีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมทางน้ำ มีทักษาในการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาทั้งทางด้านการบำบัดน้ำเสยีเพื่อพัมนาให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมมีความสะอาดเทียบเท่ามาตรฐานชองกรมควบคุมมลพิษและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้น้ำเลี้ยงกุ้งอย่างมีคุณค่าสูงสุด
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมวิธีการตรวจสอบและบำบัดน้ำจากฟาร์มกุ้งโดยวิธีต่างๆ และการจัดการคุณภาพน้ำเลี้ยงกุ้งก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วิชชุดา  เอื้ออารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เชษฐ์  ใจเพชร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท 2 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ จำนวน 4ชม. ๆละ 300 บาท จำนวน 4 คน ๆละ 2 วัน เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ค่าสารเคมีสำหรับการวิเคราะห์น้ำเสียEM , Alcohol ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้นเตอร์แบบสี และขาวดำ , ฮาร์ดดิสก์ , เม้าท์ ฯลฯ เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 , แฟ้มใส ฯลฯ เป็นเงิน 4,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ศึกษาวิธีการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของน้ำเสีย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย002-ปี-2564-วิชชุดา-ฟาร์มกุ้ง .doc
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การกำจัดยางเหนียวในน้ำมันปาล์มดิบด้วยสารสกัดเคี่ยม
ช่วงเวลา : 01/01/2562 - 30/09/2562
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล