16436 : โครงการการส่งเสริมการใช้สารสกัดจากสมุนไพรเพื่อสุขภาวะและทางการเกษตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์พัชรินทร์ วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/1/2564 15:20:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  1. นักเรียน นักศึกษา 2. เกษตรกร ประชาชนทั่วไป 3. สมาชิกชุมชน หมู่ 7 ตำบลคันธุลี อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในปัจจุบันเป็นที่นิยมกันในวงกว้าง โรงพยาบาลหน่วยงานภาครัฐเองก็ได้นำสมุนไพรหลายชนิดบรรจุลงในบัญชียาของโรงพยาบาลเพื่อแจกให้กับผู้ป่วย เนื่องจากสมุนไพรไทยมีศักยภาพสูงในการรักษาบำบัดโรค การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรนอกจากใช้ทางด้านการแพทย์แล้ว ยังสามารถใช้งานได้อีกหลายด้าน เช่น เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอางค์ อาหาร และทางด้านการเกษตร จากการที่ได้เข้าร่วมประชุม “การฟื้นฟูและสืบสานภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้าน และการพัฒนาศักยภาพแพทย์แผนไทยและสมุนไพร จังหวัดชุมพร” ร่วมกับทางวัดคีรีวงศ์ พบว่าเครือข่ายต้องการสมุนไพร เช่น หญ้าหวาน กระเจี๊ยบแดง เก๊กฮวย ว่านชักมดลูก พริกไทย ขิงแห้ง เจตมูลเพลิงแดง สะค้าน มะตูม ขมิ้นอ้อย เห็ดหูหนูดำ ดีปลี ช้าพลู ไพล กระชาย กระวาน กานพลู แห้วหมู เป็นต้น เป็นจำนวนมาก เพราะเป็นส่วนผสมหนึ่งในตำรับยา และจากการร่วมกิจกรรมกับชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลละแม เคยได้รับเอกสารความต้องการของชมรม คือต้องการต้นพันธุ์สมุนไพรไปปลูกไว้ในครัวเรือน เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในเบื้องต้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาลของรัฐบาลด้วย และอีกหนึ่งชุมชนคือ ชุมชนคันธุลี อำเภอท่าชนะ มีความต้องการต้นพันธุ์สมนุไพรมาปลูกเพื่อสร้างรายได้ ในส่วนของชุมชนขาดความรู้เกี่ยวกับการสกัดสารจากพืชสมุนไพรเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ โดยเน้นนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร เพื่อปลูกผักปลอดภัย ใช้ภายในครัวเรือน ลดการใช้สารเคมีเพราะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ด้วยภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน สภาพคล่องตัวต่ำจึงทำให้คนในชุมชนเริ่มหาช่องทางเพิ่มรายได้ คนในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร สวนปาล์ม ยางพารา ซึ่งเกษตรกรเห็นว่ามีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถปลูกแซมในพื้นที่สวนยางได้ ถ้าเกษตรกรนำสมุนไพรที่ปลูกไปจำหน่ายให้กับทางวัดจะเป็นการเพิ่มการสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอีกทางหนึ่ง โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นตัวกลางในการเยื่อมโยงชุมชนกับวัดโดยตรง เพื่อให้มีตลาดรับซื้อสมุนไพรที่มีความแน่นอน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีฐานการเรียนรู้สวนสมุนไพรที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนในปีงบประมาณ 2559-2560 ซึ่งดำเนินการ เก็บรวบรวมต้นพันธุ์มาปลูกไว้ในฐานการเรียนรู้ ปลูกสมุนไพรตามรอยตำรับยาหมอพร และสมุนไพรพื้นบ้านที่มีศักยภาพในการรักษาโรคตามภูมิปัญญาพื้นบ้าน ประกอบกับอาจารย์พัชรินทร์ วิริยะสุขสวัสดิ์ ได้ทำงานบริการวิชาการที่สนองต่อโครงการพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการนำสารสกัดจากใบเสม็ดขาว ซึ่งเป็นพืชชายหาดที่มีอยู่มากในป่าอนุรักษ์พันธุกรรมพืช แม่โจ้-ชุมพร มาพัฒนาเป็นสมุนไพรไล่แมลง ซึ่งพบว่า สารสกัดจากใบเสม็ดขาวด้วยตัวทำละลายแอลกอฮอล์ทุกระดับความเข้มข้น มีประสิทธิภาพสำหรับใช้เป็นสมุนไพรไล่แมลง โดยสามารถกำจัด/ไล่แมลงในพืชผักสวนครัวได้เป็นอย่างดี ซึ่งนำมาใช้ทดแทนสารเคมีไล่แมลงได้ ในโครงการนี้มุ่งเน้น ดูแลฐานการเรียนรู้สวนสมุนไพรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เดิมให้มีความต่อเนื่อง ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวเทคนิคการสกัดสารอย่างง่าย และการใช้สารสกัดจากสมุนไพร ได้แก่ สารสกัดสมุนไพรไล่แมลงสำหรับการปลูกพืชปลอดภัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และน้ำยาเอนกประสงค์สำหรับใช้ในครัวเรือน เพื่อลดการใช้สารเคมี ลดรายจ่าย เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีขึ้น งานนี้ได้นำองค์ความรู้จากงานบริการวิชาการที่สนองต่อโครงการพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาบูรณาการและทำให้งานมีความต่อเนื่อง แล้วยังมีส่วนร่วมในการร่วมขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ที่มุ่งสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาวะระดับชาติ (Well Being At Chumphon) พร้อมทั้งนำมาบูรณาการกับการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมนอกห้องเรียนอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการสกัดสารจากสมุนไพรโดยใช้เทคนิคการสกัดอย่างง่าย
ส่งเสริมชุมชนปลูกพืชสมุนไพรเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรในระดับครัวเรือน
เพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์สมุนไพรในท้องถิ่น สอดคล้องกับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการใช้วิถีชีวิตแบบเกษตรอินทรีย์ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : อบรมการสกัดสารจากสมุนไพรและการใช้สารสกัด เพื่อสุขภาวะและการผลิตพืชผักปลอดภัยในระดับครัวเรือน
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมบริการมีความรู้เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : อบรมการสกัดสารจากสมุนไพรและการใช้สารสกัด เพื่อสุขภาวะและการผลิตพืชผักปลอดภัยในระดับครัวเรือน
ชื่อกิจกรรม :
ดูแลสมุนไพรในฐานการเรียนรู้เดิม ขยายพันธุ์สมุนไพร สกัดสารและทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรอย่างง่าย 2 ชนิด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์และจัดเตรียมบรรจุภัณฑ์ จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ เป็นเงิน 5,800 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดเตรียมพืชและบดตัวอย่าง ทำสมุนไพรตัวอย่าง ทำสมุนไพรแห้ง บดละเอียด เพื่อทำผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 1 คนๆ ละ 20 วันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น พืชสมุนไพร มูลสัตว์ จอบ กรรไกรตัดกิ่ง ฯลฯ เป็นเงิน 8,600 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น อัลกอฮอล์ บีกเกอร์ ถุงมือยาง หัวเชื้อสารเคมี ฯลฯ เป็นเงิน 4,945 บาท
- วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ขวดสเปรย์ ไม้พาย ถังน้ำ ฯลฯ เป็นเงิน 3,555 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 17,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 32900.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสกัดสารจากสมุนไพร และการทำผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท × 2 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท × 2 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน แบ่งเป็น
บรรยาย จำนวน 1 คน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 2 คน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
บรรยาย จำนวน 1 คน 1 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การระบาดของโคโรน่าไวรัส 2019
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
การจัดอบรมมีการคัดกรอง และการเว้นระยะห่างตามที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขกำหนด และดำเนินการในรูปแบบใหม่ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การสกัด การอนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านและการใช้ประโยชน์ในรูปแบบการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ในระดับครัวเรือน
ช่วงเวลา : 01/02/2564 - 30/09/2564
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล