16434 : โครงการการพัฒนาการผลิตสาหร่ายทะเลแบบการเพาะเลี้ยงแบบอินทรีย์เพื่อมุ่งสู่อาหารปลอดภัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์นาตาลี อาร์ ใจเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/1/2564 10:54:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักศึกษา นักเรียนและประชาชนที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณภายใต้โครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ นาตาลี อาร์  ใจเย็น
นาง ณิชาพล  บัวทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 64 MJU 1.2 มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์อินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง (Organic farm & fruit)
ตัวชี้วัด 64 MJU 1.2 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
กลยุทธ์ 64 MJU 1.2.2 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University Strategy)
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ MJU64 : 4. การบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
เป้าประสงค์ MJU64 : 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และสร้างทักษะวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.1.1 ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร หรือในหลวงรัชกาลที่ 9 เป็นหลักการที่สามารถแก้ไขภาวะวิกฤตที่พบในปัจจุบันได้อย่างยั่งยืน โดย จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัฒน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคมเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2 อย่างคือ การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค และชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง ผลที่เกิดขึ้นคือ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก ซึ่งจากปัจจัยทั้งสองสามารถเชื่อมโยงแก้ปัญหาส่งกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในประเด็น ภาคการท่องเที่ยวและเกษตรประมง คือการทำการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนโดยยึดหลักการทำเกษตรแบบยั่งยืนเช่นกัน สาหร่ายทะเล (Seaweeds) ขนาดใหญ่อย่างเช่น สาหร่ายพวงองุ่น สาหร่ายผักกาดทะเล จัดอยู่ในกลุ่มพืชชั้นต่ำที่ยังไม่มีราก ลำต้น และใบที่แท้จริงแต่จะใช้วิธีดูดซับน้ำและแร่ธาตุจากน้ำทะเลสู่เซลล์ต่างๆ โดยตรงและมีองค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญ ได้แก่ กรดอะมิโน (Amino acid) ซึ่งกรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบในสาหร่ายทะเล คือ Cysteine, Lysine, Aspartic, Glutamic, Proline, Methionine, Tryptophan, Arginine, และ Ornithine เป็นต้น. วิตามิน (Vitamins) ประกอบด้วย วิตามิน เอ, ซี, บี1, บี2, บี12, อี และดี โดยมีผลช่วยในการซ่อมแซมเส้นเลือดที่แตก ช่วยสมานแผล และยังมีฤทธิ์เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ,เกลือแร่ (Mineral salts) ประกอบด้วย แมกนีเซียม โพแทสเซียม แคลเซียม และซิลิกอน ช่วยป้องกันเซลล์เหี่ยว และปรับสมดุลเกี่ยวกับความชุ่มชื้นของเซลล์ และ แร่ธาตุ (Trace elements) เช่น ไอโอดีน เหล็ก แมงกานีส โบรอน โคบอลต์ ทองแดง สังกะสี โบรมีน นิกเกิล อะลูมิเนียม แบเรียม ไทเทเนียม โครเมียม เป็นต้น ซึ่งแร่ธาตุเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalysts) และช่วยเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพของสารต่างๆ เพื่อให้ซึมผ่านเข้าสู่ผิวหนังได้อย่างรวดเร็วจากองค์ประกอบที่สำคัญและมีคุณค่าเช่นนี้สาหร่ายทะเลจึ่งเป็นที่นิยมใช้ทำอาหารที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุที่มีความจำเป็นต่อร่างกายหลายชนิดนิยมทำอาหารเสริมสุขภาพเพราะมีคุณสมบัติเด่นคือ มีปริมาณโปรตีนสูง อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง สาหร่ายประกอบด้วยสารเคมีบางชนิดที่ช่วยในการรักษาผิวหนัง จากการศึกษาในประเทศญี่ปุ่นพบว่า เครื่องสำอางที่ใช้สาหร่ายหรือสารสกัดจากสาหร่ายเป็นส่วนผสมจะช่วยให้ผิวพรรณดี และลดริ้วรอยได้ และ ปุ๋ยชีวภาพ สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินรู้จักกันแพร่หลายในการใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพ ซึ่งสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินในนาข้าวบางชนิดสามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนโตรเจน เช่น แอมโมเนีย ทำให้ข้าวเจริญเติบโตได้ดี ปัจจุบันสาหร่ายที่มีคุณค่าและที่นิยมมีการนำมาเพาะเลี้ยงในอดีตเป็นเรื่องที่ซับซ้อนยุ่งยาก ให้ผลผลิตน้อย มิหนำซ้ำยังมีปัญหาเรื่องความสกปรกเกาะติดเป็นจำนวนมาก และปัจจุบันนี้การเลี้ยงเพื่อเพิ่มผลผลิตจะมีการนำปุ๋ยวิทยาศาสตร์ชนิดต่างๆไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยยูเรียหรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ชนิดต่างเพื่อนำมาใช้ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพต่อผู้บริโภค ดังนั้นการจัดการเพาะเลี้ยงกลุ่มสาหร่าย ให้ผลผลิตมากและคุณภาพดีโดยปราศจากสารเคมีหรือสารสังเคราะห์เพื่อให้เป็นอาหารปลอดภัย เพื่อสามารถขยายไปเลี้ยงในเชิงพาณิชย์ต่อไป แนวทางในการการจัดการเพาะเลี้ยงกลุ่มสาหร่าย ให้ผลผลิตมากและคุณภาพดีโดยปราศจากสารเคมีหรือสารสังเคราะห์เพื่อให้เป็นอาหารปลอดภัยทางเลือกหนึ่งการทำสิ่งที่เป็นธรรมชาติมาใช้ในการผลิตนั้นคือการใช้น้ำหมักชีวภาพมาทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีหรืสารเคมีต่างๆในการเลี้ยงซึ่งนอจากจะปลอดภัยต่อผู้บริโภคแล้วยังมีความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมเป็นการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อนำองค์ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสาหร่ายด้วยน้ำหมักชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นแนวทางในการทำการเกษตรที่สามารถพึ่งตนเองได้โดยนำแนวทางความพอเพียงตามแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง”
เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นของประชาชนจากการให้บริการวิชาการทั้งด้านเศรษฐกิจ
เพื่อเผยแพร่และส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่แบบอินทรีย์สู่อาหารปลอดภัยแก่ผู้สนใจ
เพื่อสร้างศักยภาพให้แก่นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนมีความสามารถในการนำประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริม
เพื่อเพิ่มแนวทางเลือกในการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริมแก่ผู้สนใจทั้งเกษตรกร และประชาชนที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แนวทางพัฒนาการผลิตสาหร่ายทะเลแบบการเพาะเลี้ยงแบบอินทรีย์เพื่อมุ่งสู่อาหารปลอดภัย
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : องค์ความรู้เทคนิคกระบวนการเพาะเลี้ยงสาหร่าย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 6 : แนวทางเลือกในการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริมแก่ผู้สนใจทั้งเกษตรกร และประชาชนที่สนใจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 อาชีพ 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : เทคนิคการเพาะเลี้ยงสาหร่ายอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เทคนิค 1
KPI 9 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แนวทางพัฒนาการผลิตสาหร่ายทะเลแบบการเพาะเลี้ยงแบบอินทรีย์เพื่อมุ่งสู่อาหารปลอดภัย
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเชิงปฏิบัติการเลี้ยงสาหร่ายทะเล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2564 - 30/04/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางณิชาพล  บัวทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 คน 3 ช.ม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท และปฏิบัติ จำนวน 2 คนๆ ละ 4 ช.ม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 3 ช.ม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท และปฏิบัติ จำนวน 1 คนๆ ละ 4 ช.ม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คนๆละ 200 บาท 4 วัน เป็นเงิน 1,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุเกษตร เช่น ต้นพันธุ์สาหร่ายทะเล กากน้ำตาล ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ตาข่ายพลาสติก ฯลฯ เป็นเงิน 19,050 บาท
- วัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษพลูบ ปากกาเมจิก กระดาษ A4 ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 6,950 บาท
- วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้นท์ ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
- วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถัง กะลามัง ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ระยะเวลาที่กำหนดเกิดสถานการณ์ระบาดของเชื้อโควิท-19 จึ่งไม่สามสามารถจัดการอบรมแบบ onsite ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดอบรมจาก onsite แบบ online
รูปแบบการปฎิบัติจริงเปลี่ยนแปลงเป็นสาธิต
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล