16325 : ศูนย์บริการวิชาการด้านการผลิตและการตลาดกล้วยไม้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ พิลาดี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/12/2563 10:26:58
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ผู้ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่ ผู้สนใจทั่วไป นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ฝ่ายกิจการพิเศษ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2564 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
นาย บุญตัน  สุเทพ
น.ส. สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์
น.ส. จีระนันท์  ตาคำ
น.ส. วัชราภรณ์  สุขขี
น.ส. นิศานาถ  มิตตะกัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.6 ดำเนินงานตามแนวพระราชดำริ ของพระเจ้าอยู่หัวฯ สนองพระราชดำริของพระบรมวงศานุวงศ์ ผ่านการบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 64 AP 2.6 จำนวนกล้วยไม้ที่ได้รับการอนุรักษ์ ขยายพันธ์ุ และนำคืนสู่ธรรมชาติ
กลยุทธ์ ุ64 AP2.6.1 ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเพาะขยายพันธ์ุกล้วยไม้ไทย กล้วยไม้หายาก อย่างครบวงจร และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ระดับชาติและนานาชาติ
เป้าประสงค์ 64 AP 2.3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม ด้วยองค์ความรู้ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 64 AP2.3.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้/ ฐานเรียนรู้ ๖KAP & KP
กลยุทธ์ 64 AP 2.3.4.21 ผลักดัน และส่งเสริมให้ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ภายใต้หน่วยงาน มีการพัฒนา สร้างความประทับใจ จากผู้เยี่ยมชมทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.6 ดำเนินงานตามแนวพระราชดำริ ของพระเจ้าอยู่หัวฯ สนองพระราชดำริของพระบรมวงศานุวงศ์ ผ่านการบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 64 AP 2.6 จำนวนกล้วยไม้ที่ได้รับการอนุรักษ์ ขยายพันธ์ุ และนำคืนสู่ธรรมชาติ
กลยุทธ์ ุ64 AP2.6.1 ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเพาะขยายพันธ์ุกล้วยไม้ไทย กล้วยไม้หายาก อย่างครบวงจร และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ระดับชาติและนานาชาติ
เป้าประสงค์ 64 AP 2.3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม ด้วยองค์ความรู้ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 64 AP2.3.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้/ ฐานเรียนรู้ ๖KAP & KP
กลยุทธ์ 64 AP 2.3.4.21 ผลักดัน และส่งเสริมให้ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ภายใต้หน่วยงาน มีการพัฒนา สร้างความประทับใจ จากผู้เยี่ยมชมทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ใน ปี พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เป็นเจ้าจัดงานกล้วยไม้เอเเซียแปซิฟิก ครั้งที่ 4 (APOC 4th) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จฯ ไปเป็นองค์ประธานงานกล้วยไม้เอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๔ ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ในระหว่างทอดพระเนตรนิทรรศการและ การประกวดกล้วยไม้ ซึ่งมีกล้วยไม้ไทยสวยงามต่างๆ นำมาจัดแสดงเป็นอันมาก ได้มีพระราชดำรัสกับคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ศาสตราจารย์ ดร. อานนท์ เที่ยงตรง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ระพี สาคริก และ พลเอกแป้ง มลากุล ณ อยุธยา เกี่ยวกับกล้วยไม้ป่าของเมืองไทยว่า "...กล้วยไม้ไทยมีความงามมากและมีกลิ่นหอมมาก ซึ่งนับวันจะหาดูได้ยากและใกล้สูญพันธุ์ไปทุกขณะ ขอให้ช่วยกันหาทางรวบรวมและอนุรักษ์ไว้ พร้อมกับการขยายพันธุ์ให้มีปริมาณมากพอที่จะคืนสู่ป่าธรรมชาติได้.." และผลจากความสำเร็จจากการจัดงานกล้วยไม้เอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ 4 (APOC 4th) รัฐบาลอนุมัติให้สถาบันฯ จัดตั้งศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับขึ้นเมื่อวันที่ 15กันยายน 2535 และได้อนุมัติงบประมาณดำเนินงานจัดสร้างอาคารศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับในปี งบประมาณ 2539 ตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 7 โดยมีวัตถุประสงค์หลักให้เป็นศูนย์บริการวิชาการ การจัดประกวด จัดแสดงนิทรรศการกล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับระดับชาติ นานาชาติ และระดับโลก เพื่อเป็นการสนับสนุนธุรกิจการส่งออกกล้วยไม้ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว กล้วยไม้นับว่าเป็นดอกไม้ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในตลาดโลก สาเหตุที่ส่งผลให้กล้วยไม้ได้รับความนิยมมีอยู่หลายประการ เช่น เสน่ห์จากฟอร์มดอก โทนสีที่เกิดจากการผสมของสายพันธุ์ กลิ่นหอมของกล้วยไม้บางชนิด และอายุของดอกที่มีความยาวนานกว่าดอกไม้ชนิดอื่น เป็นต้น นอกจากนี้ดอกกล้วยไม้ก็ยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายทั้งการนำไปไหว้พระ การปักแจกัน การจัดกระเช้าดอกไม้ พวงหรีด ของชำร่วยต่าง ๆ และสภาพภูมิประเทศของประเทศไทยนั้นมีอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้เป็นอย่างยิ่ง ในปีที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการส่งออกกล้วยไม้ตัดดอกและต้นกล้วยไม้ คิดเป็นมูลค่า 2,835 ล้านบาท ซึ่งถือได้ว่าเป็นอันดับ 1 ในการส่งกล้วยไม้ตัดดอกออกไปสู่ตลาดโลกโดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากที่ประเทศญี่ปุ่นมีความต้องการดอกไม้ต่างถิ่นและยังมีความหลากหลายในด้านเทศกาล ประเพณี แต่คู่แข่งที่สำคัญทางการตลาดคือ ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ไต้หวัน นิวซีแลนด์ และตลาดที่มีความสำคัญอีกแห่งหนึ่งคือ สหภาพยุโรปที่มีการนำเข้ากล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium) มูลค่า 21 ล้าน ยูโรต่อปี สหภาพยุโรปมีความต้องการกล้วยไม้มากโดยเฉพาะอิตาลี แต่การส่งออกไปยังสหภาพยุโรปนั้นจะต้องมีการคำนึงถึงมาตรฐานด้านสุขภาพอนามัยด้านพืชให้เป็นที่ยอมรับทั้งผู้ส่งออกและผู้นำเข้า ทั้งนี้ ยังได้มีกิจกรรมการรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ไทยบางสายพันธุ์ที่เริ่มหายากเพื่อเป็นการอนุรักษ์และนำมาขยายพันธุ์ต่อไปตามแนวพระราชดำรัสของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อเป็นการรวบรวมพันธ์กล้วยไม้ไทยตามแนวพระราชดำรัสของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง 2.เพื่อการตอบสนองแผนยุทธศาสตร์ด้านกล้วยไม้ของมหาวิทยาลัย 3.เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์บริการวิชาการด้านการผลิตกล้วยไม้และการตลาดกล้วยไม้ 4.เพื่อเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ด้านกล้วยไม้ให้เป็นหนึ่งเดียว 5.เพื่อเป็นการสร้างและพัฒนาผลผลิตให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 6.เพื่อเป็นแหล่งประสานงานสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้ให้กับสมาคม ชมรม ผู้ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์บริการวิชาการด้านการผลิตและการตลาดกล้วยไม้
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : แหล่งอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่งอนุรักษ์ 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : การส่งเสริมให้เกษตรกรได้ทราบวิธีการปลูกเลี้ยงและการดูแลรักษษกล้วยไม้อย่างถูกวิธี(ทำแบบสอบถามก่อนและหลังการฝึกอบรม)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 7 : ศูนย์บริการวิชาการด้านการผลิตกล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์เรียนรู้ 1
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์บริการวิชาการด้านการผลิตและการตลาดกล้วยไม้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การจัดฝึกอบรมการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การขยายพันธุ์กล้วยไม้โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ"
กิจกรรมที่ 2 การรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายบุญตัน  สุเทพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.จีระนันท์  ตาคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.วัชราภรณ์  สุขขี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิศานาถ  มิตตะกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,450 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 5,250 บาท
-ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ป้ายไวนิลขนาด 2x5 เมตรๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 500 บาท
-ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ จัดดอกไม้บนเวที โต๊ะลงทะเบียน โต๊ะรับแขก เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,200.00 บาท 0.00 บาท 9,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
-ค่าตอบแทนวิทยากร(บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 2 คน x 600 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,400 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 4 คน x 300 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,400 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากร(ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 1 คนๆ ละ 1,200 บาท 1 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-วัสดุสำนักงาน กระดาษ ปากกา แฟ้มเอกสาร ถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 6,100 บาท
-วัสดุเกษตร กาบมะพร้าว ดินปลูก มอส เป็นเงิน 10,000 บาท
-วัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกปริ้นท์ แผ่นซีดี เป็นเงิน 3,500 บาท
-วัสดุวิทยาศาสตร์ สารเคมี เป็นเงิน 12,000 บาท
-วัสดุงานบ้านงานครัว กะละมัง ตะกร้า ผงซักฟอก น้ำยาล้างจาน เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 34,800.00 บาท 0.00 บาท 34,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 สมบูรณ์.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล