16319 : ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
น.ส.สุภาภรณ์ สิริกรม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/11/2563 13:35:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/11/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา กลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่วนราชการ และผู้สนใจด้านการผลิตเห็ด
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดินปี 2564 บริการวิชาการ 2564 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ปรีชา  รัตนัง
น.ส. สุภาภรณ์  สิริกรม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ64 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 AP 2.3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม ด้วยองค์ความรู้ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด 64 AP2.3.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้/ ฐานเรียนรู้ ๖KAP & KP
กลยุทธ์ 64 AP 2.3.4.21 ผลักดัน และส่งเสริมให้ฐานเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ภายใต้หน่วยงาน มีการพัฒนา สร้างความประทับใจ จากผู้เยี่ยมชมทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตเห็ดได้หลากหลายชนิด ทั้งเห็ดเมืองร้อนและเมืองหนาว ซึ่งชนิดเห็ดที่มีความสำคัญในเชิงพาณิชย์ เช่น เห็ดฟาง เห็ดสกุลนางรม เห็ดหูหนู เห็ดแชมปิญอง เห็ดหอม เห็ดบด เห็ดโคนน้อย เป็นต้น แหล่งผลิตมีกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศเนื่องจากมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อประโยชน์ในการผลิต และประการสำคัญประเทศไทย มีความหลากหลายของวัสดุสำหรับใช้เพาะเห็ด ได้แก่ ฟางข้าว ตอซัง ผักตบชวา ทะลายปาล์มน้ำมัน เปลือกถั่วเขียว กากถั่วเหลือง กากมันสำปะหลัง เปลือกฝักข้าวโพด ขี้เลื่อยไม้เนื้ออ่อน เป็นต้น ซึ่งความหลากหลายของวัสดุเพาะเห็ดทีมีในประเทศ เกษตรกรสามารถนำมาใช้เพื่อสร้างรายได้และลดการเผา ลดหมอกควัน ซึ่งแก้ปัญหาสภาพแวดล้อม มลภาวะทางอากาศได้ส่วนหนึ่ง เห็ดเป็นพืชที่ใช้น้ำน้อย ใช้พื้นที่น้อย อายุเก็บเกี่ยวสั้น เป็นอาหารที่ปลอดสารพิษ มีวิตามินและเกลือแร่อย่างครบถ้วนในภาวะเศรษฐกิจ ปัจจุบันอาหารประเภทเนื้อสัตว์มีราคาค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับอาหารที่เป็นผลผลิตจากพืชหรือเห็ด เพื่อเป็นการปรับตัวให้เข้ากับภาวะเศรษฐกิจ ผู้บริโภคจึงเลือกบริโภคพืชผักที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ทดแทนเนื้อสัตว์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเภทเห็ดซึ่งมีสารโปรตีนสูง โปรตีนของเห็ดจะไม่มีสารคอเรสเตอรอลที่เป็นอันตรายต่อระบบไหลเวียนโลหิต ประกอบกับเห็ดมีปริมาณธาตุโซเดียมค่อนข้างต่ำ จึงเป็นอาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคตับ โรคไต โรคหัวใจ และโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงผู้ที่ต้องการลดความอ้วน ผู้ป่วยหลังฟักฟื้น หรือผู้ต้องการบำรุงร่างกาย และที่สำคัญคือเห็ดบางชนิดสามารถป้องกันและรักษาโรคบางอย่างได้ จึงนับเป็นโอกาสของเกษตรกรและผู้ที่สนใจที่จะเพาะเห็ดผลิตอาหารเพื่อสุขภาพหรือประกอบอาชีพรองอาชีพเสริมหรืออาชีพหลัก ด้วยหลักการลดต้นทุนการผลิตด้วยวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตร โดยยึดหลักปรัชญาการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 ส่งเสริมการทำการเกษตรโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
7.2 ส่งเสริมให้ความรู้ คำแนะนำ และฝึกอบรมแก่เกษตรกรทุกกลุ่ม เครือข่าย เช่น เกษตรกรบนที่สูงและเกษตรทั่วไป เพื่อสร้างอาหาร สร้างรายได้ ลดค่าใช้จ่าย
7.3 ส่งเสริมการใช้ปัจจัยวัสดุการเกษตรอย่างหลากหลาย เพื่อเพิ่มมูลค่าและลดการเผาป้องกันปัญหาสภาพแวดล้อมเป็นพิษทางอากาศ
7.4 สนับสนุนงานด้านการสอนวิชา ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต
7.5 พัฒนาให้สาขาพืชผักเป็นฐานเรียนรู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีและสาธิตด้านการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ ให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจจะนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพทั้งอาชีพหลักและอาชีพเสริม และเป็นฐานเรียนรู้ด้านการผลิตเห็ด ของนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งนักวิชาการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ตลอดจนชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย
7.6 เผยแพร่สื่อเทคโนโลยีวิดีทัศน์ทางเวปไซด์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
KPI 1 : รายได้ที่เกิดขึ้นจากการให้บริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30000 บาท 30000
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 5 : - จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
420 คน 420
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80000 บาท 80000
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : สนับสนุนงานสอน วิชา ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต ภาคเรียนที่ 2-2563 และ 1-2564
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 คน 200
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมรุ่นที่ 1 การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ จำนวน 40 คน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2564 - 30/06/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมรุ่นที่ 2 การผลิตเห็ดสมุนไพร จำนวน 40 คน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2564 - 30/06/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
สาธิตการผลิตเห็ด ได้แก่ เห็ดนางรม เห็ดนางฟ้า เห็ดหลินจือ และเห็ดหอม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/11/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.สุภาภรณ์  สิริกรม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุการเกษตร เช่น ขี้เลื่อยไม้ยางพารา, รำละเอียด, ปูนขาว, ถุงพลาสติกเพาะเห็ด, แคลเซียม ยิปซั่ม ฯลฯ เป็นเงิน 51700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 51,700.00 บาท 0.00 บาท 51,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 51700.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 ทำสื่อวิดิทัศน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/06/2564 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายปรีชา  รัตนัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุภาภรณ์  สิริกรม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำสื่อวิดีทัศน์การเพาะเห็ดสกุลนางรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 28,300.00 บาท 28,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณที่ได้รับมีจำนวนจำกัด
สถานการณ์โรคระบาด โควิท 19
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ดำเนินการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
เปลี่ยนจากการฝึกอบรมเป็นการจัดทำสื่อวิดีทัศน์เผยแพร่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล