16218 : โครงการส่งเสริมการใช้พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนสำหรับการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ในชุมชนเกษตรกรรม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/10/2563 9:29:58
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2563  ถึง  30/09/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  จำนวน 1 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านปงไคร้ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ (ใช้งบประมาณแหล่งอื่นจากแหล่งทุนภายนอก) 2564 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุลักษณา  มงคล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฑาภรณ์  ชนะถาวร
รองศาสตราจารย์ ดร. ชวโรจน์  ใจสิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธงชัย  มณีชูเกตุ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ  นิรัญศิลป์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สราวุธ  พลวงษ์ศรี
รองศาสตราจารย์ ดร. อัครินทร์  อินทนิเวศน์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.3.1 2.3.1 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ พัฒนาองค์ความรู้และผลักดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชุมชนบ้านปงไคร้ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนเกษตรกรรมที่มีการเพาะเลี้ยงกล้วยหายากและเป็นที่ต้องการของตลาด ปัจจุบันในชุมชนมีการใช้โรงงานผลิตพืชขนาดเล็กสำหรับเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ออกขวดโดยกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้ฟ้ามุ่ยและทำการเพาะพันธุ์กล้วยไม้ออกขวดสองชนิดได้แก่ กล้วยไม้ฟ้ามุ่ย และกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ เพื่อใช้ในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของชุมชน และจำหน่ายให้กับหน่วยงานต่างๆ ในการใช้โรงงานผลิตพืชเพื่อการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ต้องทำในห้องปิดซึ่งมีการใช้พลังงานไฟฟ้าจากสายส่งของการไฟฟ้า แต่ในปัจจุบันชุมชนประสบปัญหาไฟฟ้าดับบ่อยทำให้ศักยภาพการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ของชุมชนลดลงและสภาพอากาศแวดล้อมไม่เหมาะสม ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการทำเกษตรกรรมของชุมชนบ้านปงไคร้ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและเกษตรอัจฉริยะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทนและเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะที่สามารถนำไปเผยแพร่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้ชุมชนมีการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทนเช่นพลังงานแสงอาทิตย์ และถ่ายทอดองค์ความรู้พลังงานทดแทนต่างๆ ที่ประชาชนในชุมชนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ คณะผู้ดำเนินงานคาดหวังว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินโครงการจะสามารถช่วยเพิ่มเสถียรภาพการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ออกขวดของชุมชนได้ปริมาณมาก และชุมชนสามารถนำพันธุ์กล้วยไม้ที่เพาะพันธุ์ขึ้นไปใช้ในกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชน สนับสนุนการสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชนให้เพิ่มขึ้นจากเดิม อีกทั้งในอนาคตยังสามารถเป็นต้นแบบระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แก่ชุมชนเกษตรกรรมข้างเคียงได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานทดแทนในชุมชนเกษตรกรรมให้แพร่หลายมากขึ้น
เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรเพิ่มศักยภาพการผลิตผลผลิตทางการเกษตรให้มากขึ้นจากการใช้พลังงานทดแทน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิต : ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กิจกรรมที่ 1 การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับเพาะเลี้ยงกล้วยไม้และการทดสอบการใช้งาน
KPI 1 : ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ลดค่าใช้จ่ายทางพลังงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้อยละ 50
KPI 2 : จำนวนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุมชน 1
ผลผลิต : ผลผลิต : 1. ความรู้ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำนวน 1 เรื่อง 2. เทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ ที่นำไปถ่ายทอด กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดความรู้การใช้งานระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และเทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ
KPI 1 : จำนวนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุมชน 1
KPI 2 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมรับการถ่ายทอดความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิต : ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กิจกรรมที่ 1 การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับเพาะเลี้ยงกล้วยไม้และการทดสอบการใช้งาน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม : การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ และการทดสอบการใช้งาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุลักษณา  มงคล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอุดหนุน
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : ผลผลิต : 1. ความรู้ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำนวน 1 เรื่อง 2. เทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ ที่นำไปถ่ายทอด กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดความรู้การใช้งานระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และเทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม: การถ่ายทอดความรู้การใช้งานระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และเทคโนโลยีพลังงานทดแทนต่างๆ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2563 - 30/09/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุลักษณา  มงคล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอุดหนุน
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล