16040 : โครงการจัดตั้งศูนย์ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy Center)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ สีดาเพ็ง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/10/2563 13:09:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/10/2563  ถึง  20/08/2564
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  บริษัท ใบเฟิร์นเฮลท์ตี้โฮม จำกัด ที่อยู่ 365/7 หมู่ 4 หนองจ๊อม สันทราย เชียงใหม่ 50290 จำนวนพนักงานที่เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 50 คน อายุระหว่าง 20-50 ปี
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2564 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อานนท์  สีดาเพ็ง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2564 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 64 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 64 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการศึกษาบริบทด้านสังคมภายในประเทศที่พบว่า “คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น แต่การเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง” สอดคล้องกับผลการศึกษาขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า การพัฒนาของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้บุคคลมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชากรโลกในทุกช่วงอายุ ภายใต้สภาพการณ์ดังกล่าวจำเป็นต้องส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับบุคคล ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เนื่องจากการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์สุขภาพ ได้แก่ ภาวะสุขภาพโดยรวม ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลดต่ำลง และความถี่ในการใช้บริการสุขภาพในโรงพยาบาลลดลง หากประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนมีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพต่ำ ย่อมจะส่งผลต่อสภาวะโดยรวม กล่าวคือ เมื่อประชาชนขาดความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังจะเพิ่มขึ้น เป็นผลทำให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มสูงขึ้นตามลำดับ ดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นที่มาของ “โครงการจัดตั้งศูนย์ความรอบรู้ด้านสุขภาพ” ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและลดปัญหาดังกล่าวข้างต้น โดยการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึง เข้าใจ และประยุกต์ใช้ข้อมูลด้านสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับบริบทของชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาแนวทางและรูปแบบกิจกรรมบริการวิชาการแบบสร้างรายได้ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
เพื่อยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ได้แนวทางและรูปแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
KPI 1 : คู่มือ “แนวทางและรูปแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับชุมชน”
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1
ผลผลิต : ยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชน
KPI 1 : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่มีระดับสุขภาพดีขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ได้แนวทางและรูปแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อหาแนวทางและรูปแบบของการจัดตั้งศูนย์ความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
กิจกรรมที่ 2 การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อหาแนวทางจัดกิจกรรมส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อสร้างรายได้ที่เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงานและชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/10/2563 - 20/08/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปิยะพันธุ์  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เมธี  วงศ์วีระพันธุ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.กัญจน์  จันทร์ศรีสุคต (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : ยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การตรวจ วัด และประเมินภาวะสุขภาพ ก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม
กิจกรรมย่อย 1.1 สุขภาวะทางกาย (รอบเอว, รอบสะโพก, น้ำหนัก, ส่วนสูง, RHR, BMI, BFP, Fat Mass, Muscle Mass, Body Age, Body Type, WHR, Visceral Fat, BMR, TDEE เป็นต้น)
กิจกรรมย่อย 1.2 สุขภาวะทางทางจิต (ดัชนีชี้วัดความสุข, แบบวัดความเครียด, แบบประเมินภาวะอารมณ์ซึมเศร้า)
กิจกรรมย่อย 1.3 การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ (ความดันโลหิต, ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด, ตรวจสารพิษตกค้างในร่างกาย, แบบคัดกรองโรคต่างๆ)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/10/2563 - 25/08/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปิยะพันธุ์  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมพัฒนาความสามารถและทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพ (6 กิจกรรม)
กิจกรรมย่อย 2.1 พัฒนาความสามารถและทักษะการสืบค้นข้อมูลและเข้าถึงบริการสุขภาพ
กิจกรรมย่อย 2.2 พัฒนาความสามารถและทักษะเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพ
กิจกรรมย่อย 2.3 พัฒนาความสามารถและทักษะการโต้ตอบซักถามเพื่อเพิ่มความเข้าใจด้านสุขภาพ
กิจกรรมย่อย 2.4 พัฒนาความสามารถและทักษะการตัดสินใจเลือกปฏิบัติเพื่อสุขภาพ
กิจกรรมย่อย 2.5 พัฒนาความสามารถและทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรมย่อย 2.6 พัฒนาความสามารถและทักษะการนำเสนอบอกต่อข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อสังคม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/10/2563 - 25/08/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การตรวจ วัด และประเมินภาวะสุขภาพ หลังการเข้าร่วมกิจกรรม (หลังเข้าร่วมกิจกรรม 4 เดือน)
กิจกรรมย่อย 3.1 สุขภาวะทางกาย (รอบเอว, รอบสะโพก, น้ำหนัก, ส่วนสูง, RHR, BMI, BFP, Fat Mass, Muscle Mass, Body Age, Body Type, WHR, Visceral Fat, BMR, TDEE เป็นต้น)
กิจกรรมย่อย 3.2 สุขภาวะทางทางจิต (ดัชนีชี้วัดความสุข, แบบวัดความเครียด, แบบประเมินภาวะอารมณ์ซึมเศร้า)
กิจกรรมย่อย 3.3 การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ (ความดันโลหิต, ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด, ตรวจสารพิษตกค้างในร่างกาย, แบบคัดกรองโรคต่างๆ)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2564 - 20/08/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปิยะพันธุ์  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมตามกำหนดการได้ “เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาด COVID-19” ส่งผลให้ไม่สามารถประเมินผลโครงการฯ ตามตัวชี้วัดต่างๆ ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ช่วงเวลา : 20/10/2563 - 30/08/2564
ตัวชี้วัด
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
แนวทางการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
ช่วงเวลา : 01/11/2563 - 20/08/2564
ตัวชี้วัด
สมศ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้ประโยชน์
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล