15781 : โครงการ Well-being@Chumphon
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
อาจารย์ ดร.ฐิระ ทองเหลือ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/5/2563 16:34:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักงานมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เงินงบประมาณยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดสรร 2563 143,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โชติพงศ์  กาญจนประโชติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทองเลียน  บัวจูม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธรรมศักดิ์  พันธุ์แสนศรี
น.ส. นีร  เรียนกุนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดา  นาเทเวศน์
นาง สิริลักษณ์  ศรีสวัสดิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 4.1 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 4.1.1 จำนวนโครงการที่ตอบสนองความต้องการของสังคม
กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมงานบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

รัฐบาลมียุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (2560-2564) ประกอบกับกระแสความต้องการบริโภคสินค้าอินทรีย์มีความต้องการมากขึ้น การทำเกษตรอินทรีย์จึงเป็นต้นทางของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้นำนโยบายพัฒนาการเกษตรให้มีความปลอดภัยทั้งคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม อันเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable development) ตามที่วางแผนยุทธศาสตร์ไว้ว่าที่จะพัฒนาวิทยาเขตให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่อุดมด้วยปัญญาที่จะแก้ปัญหาของสังคมจากฐานราก ทั้งการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Quality of life) ทั้งการพัฒนา กาย และใจ บนแนวคิด (Wellbeing at Maejo Chumphon) โดยเริ่มกระบวนการจากการวางแผนการผลิต การบริหารจัดการให้ได้ผลผลิตที่มีมาตรฐาน การแปรรูป การจัดจำหน่าย เกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐาน การพัฒนาแปลงอินทรีย์ ในพืชชนิดต่างๆ ตั้งแต่พืชผัก พืชสวน ไม้ผล และสมุนไพร จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะพัฒนา ให้มหาวิทยาลัยไปสู่เป้าหมาย คือ (Well-being @ Chumphon) ดังนันการจัดการพืนทีเพือสร้างมูลค่าเพิมทังทางสังคม ทางเศรษฐกิจ และสิงแวดล้อม ด้วยองค์ความรู้ทีแม่โจ้มีอยู่แล้ว และองค์ความรู้ ใหม่ทีจะสร้างขึน ร่วมกันกับกัลยาณมิตร เพือนําพามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้สามารถแข่งขันได้สูงขึ้นกว่าเดิม แนวทางการทํางาน งานแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์ เกษตรประมง การท่องเทียว และสังคมศาสตร์ เพือสร้าง “Well-Bing @ Chumporn” มีเป้าหมายเพือสร้างสังคมแห่งความสุข “Wellness Center” โดยเบื้อต้นเน้นที่การปรับโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาแหล่งน้ำ ถนน หนทาง การวางผังการจัดการฟาร์มเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างรายได้และพัฒนาเป็นแหล่งบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาคนทุกระดับวัยไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้รากฐานการเกษตรที่เน้นคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาอาชีพของประชาชนในภูมิภาค
เพื่อบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชการ การหารายได้ของมหาวิทยาลัยในอนาคต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แปลงเกษตรอินทรีย์เพื่อพัฒนาสู่อาหารปลอดภัยภายใต้โครงการ Well-being
KPI 1 : ปลูกไม้ผลหลักจำนวน 380 ต้นและโกโก้แซม จำนวน 750 ต้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
350 750 ต้น 1100
KPI 2 : เกิดแปลงไม้ผลจำนวน 10 ไร่ เพื่อเป็นแปลงเริ่มต้นของต้นแบบเกษตรอินทรีย์ ภายใต้โครงการ Well-being
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ไร่ 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แปลงเกษตรอินทรีย์เพื่อพัฒนาสู่อาหารปลอดภัยภายใต้โครงการ Well-being
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอนการวิจัยในพืนทีฟาร์มเกษตรอินทรีย์ และการแปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร (เมษายน-กันยายน 2563) จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 เดือน ๆ ละ 9,000 บาท เป็นเงิน 108,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาควบคุมดูแลการพัฒนาพื้นที่และวางโครงสร้างพื้นฐานโครงการ well-being@chumporn (เมษายน-พฤษภาคม 2563) จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 เดือน ๆ ละ 17,500 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 89,000.00 บาท 54,000.00 บาท 143,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 143000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล