15764 : โครงการสมุนไพรไทยและสารสกัดสมุนไพรทดแทนยาปฏิชีวนะเพื่อการผลิตสัตว์น้ำปลอดภัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/4/2563 17:17:22
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และผู้สนใจ ในจังหวัดภาคเหนือตอนบน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน จำนวน 70,000 บาท 2563 70,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราพร  โรจน์ทินกร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี  วิระสิทธิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-63-4. การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT-63-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT-63-4-1 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่นๆ ของคณะ
กลยุทธ์ FT-63-4.1.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
กลยุทธ์ FT-63-4.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประชาชนในภาคเหนือมีการบริโภคสัตว์น้ำเป็นอาหารหลักชนิดหนึ่ง ปลาน้ำจืดที่นิยมบริโภค ๕ อันดับแรก ได้แก่ ปลานิล ปลาทับทิม ปลาดุก ปลาช่อน และปลาสวาย ภาคเหนือก็เป็นแหล่งผลิตปลาน้ำจืดที่สำคัญเช่นกัน ชนิดปลาที่เกษตรกรนิยมเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ นิล ทับทิม ดุก ตะเพียน กดหลวง สวาย ฯลฯ (สำนักงานประมงจังหวัดเชียงใหม่) องค์ความรู้และเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อการผลิตอินทรีย์ทั้งด้านปศุสัตว์และประมง มีการพัฒนาทั้งด้านส่วนประกอบอาหาร สายพันธุ์ และระบบการเลี้ยงที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ปัญหาสำคัญในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คือ การเกิดโรค ซึ่งทำให้เกิดความเสียหาบกับผลผลิตสัตว์น้ำอย่างมาก โดยเฉพาะในสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง มีผลให้เกิดโรคระบาดรุนแรงจากเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ทำให้เกษตรกรหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะและสารเคมีในระบบเลี้ยง ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ประมงทำให้มีสารตกค้าง และยังส่งผลกระทบต่อการตกค้างในสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้หน่วยงานภาครัฐได้มีการประกาศห้ามใช้ยาปฏิชีวนะและสารเคมีหลายชนิด รวมทั้งข้อกำหนดของสารตกค้าง ทำให้เกษตรกรจำนวนมากได้ทดลองใช้สมุนไพรด้วยวิธีของตนเอง แต่ได้ผลไม่ชัดเจน ทำให้เกิดความไม่มั่นใจในการใช้สมุนไพรทดแทนยาและสารเคมี ผศ.ดร. จิราพร โรจน์ทินกร และคณะ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพรไทยทดแทนยาปฏิชีวนะในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยได้ทำการสำรวจคุณภาพของสารสกัดสมุนไพรไทยและสาหร่ายที่มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราน้ำก่อโรคสำคัญในสัตว์น้ำ ได้ศึกษาถึงประสิทธิภาพและความเป็นพิษสารสกัดสมุนไพรไทยจากนั้นได้นำมาทดสอบใช้ในการป้องกันและรักษาโรค พบว่า สารสกัดสมุนไพรไทยและสมุนไพรท้องถิ่นทางภาคเหนือหลายชนิดมีประสิทธิสูง สามารถนำมาใช้ทดแทนยาปฏิชีวนะได้ดีทั้งในโรงเพาะฟัก พ่อแม่พันธุ์ สัตว์น้ำวัยอ่อน และสัตว์น้ำในบ่อดิน โดยการนำสารสกัดผสมอาหารให้สัตว์น้ำกินหรือใส่สารสกัดในน้ำเพื่อแช่สัตว์น้ำ ประสิทธิภาพของสารสมุนไพรในสัตว์น้ำ สามารถให้ผลได้ทั้งเพื่อป้องกันและรักษาโรค กระตุ้นการกิน เร่งการเจริญเติบโต ลดค่าอัตราการแลกเนื้อและยังสามารถเสริมคุณค่าสารอาหารในเนื้อสัตว์น้ำได้เช่นกัน ในโครงการนี้จะมุ่งเน้นการปลูกฝัง ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ และฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการใช้สารสกัดสมุนไพรไทยให้แก่เยาวชนที่จะเป็นเกษตรกรในอนาคต จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการปลูกฝังทัศนคติ และเสริมสร้างองค์ความรู้ ในเรื่องการใช้สมุนไพรไทยและสารสกัดสมุนไพรในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อการผลิตสัตว์น้ำอย่างปลอดภัย โดยสารสกัดสมุนไพรไม่มีสารตกค้าง ไม่มีผลกระทบต่อตนเอง ผู้บริโภค ยังเป็นแนวทางการทำเกษตรแบบพอเพียง ใช้ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น และเป็นมิตรสิ่งแวดล้อม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรไทยและสารสกัด ให้แก่เยาวชนเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือ
เพื่อให้เยาวชนเกษตรกรได้ฝึกทักษะการเตรียมและการใช้สารสกัดจากสมุนไพรไทยในท้องถิ่นสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง สมุนไพรไทยและสารสกัดสมุนไพรทดแทนยาปฏิชีวนะเพื่อการผลิตสัตว์น้ำเป็นอาหารปลอดภัย
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.07 ล้านบาท 0.07
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่อง สมุนไพรไทยและสารสกัดสมุนไพรทดแทนยาปฏิชีวนะเพื่อการผลิตสัตว์น้ำเป็นอาหารปลอดภัย
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สมุนไพรไทยและสารสกัดสมุนไพรทดแทนยาปฏิชีวนะเพื่อการผลิตสัตว์น้ำปลอดภัย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราพร  โรจน์ทินกร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน x 3 วัน x 2,400 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 3 ห้อง x 1 คน x 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 70 คนๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ 2 รุ่น เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม จำนวน 120 เล่มๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 คนๆ ละ 600 บาท 3 ชั่วโมง 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ปฏิบัติ จำนวน 1 คนๆ ละ 300 บาท 3 ชั่วโมง 2 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คนๆ ละ 200 บาท 7 วัน 2 ครั้ง เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เอทานอล หลอดแก้ว ถุงมือแล็บ สารสกัด เป็นเงิน 16,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา ซองเอกสาร ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนผู้ประสงค์เข้าร่วมการอบรมอาจมีมากเกินจำนวนที่กำหนด
การจัดทำเอกสารประกอบการอบรมให้แก่ผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมการอบรมและแนะนำให้เข้ามาปรึกษาวิทยากรได้โดยตรง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
mjuผศดรจิราพร-โรจน์ทินกร17042563pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล