15762 : โครงการการศึกษาศักยภาพของพืชอาหารพื้นถิ่น ในเขตชานเมืองเชียงใหม่เพื่อการนำไปใช้ในงานภูมิทัศน์ (ุ63-3.2.4)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/4/2563 19:03:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  0  คน
รายละเอียด  นักศึกษา ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน หน่วยงานปกครองท้องถิ่น ชุมชนสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ชุมชนชานเมืองเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานพื้นฐาน
แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชกาาร
กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์
แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม
งานบริการวิชาการแก่ชุมชน
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)
2563 120,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พรทิพย์  จันทร์ราช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.1.3 จำนวนเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยที่เกิดจากการให้บริการวิชาการ (Inc. A)
กลยุทธ์ 63-64MJU4.1.2 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base)
กลยุทธ์ 63-64MJU4.1.3 พัฒนาชุดโครงการบูรณาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ 63-64MJU4.1.4 บูรณาการงานบริการวิชาการสู่การเรียนการสอน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED63-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED63-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED63-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การขยายตัวของพื้นที่เมืองเกิดขึ้นในอัตราเร็วที่เพิ่มเป็น 2 เท่าจากอดีต ในขณะที่การขยายตัวของเมืองมีทิศทางไปในทั้งพื้นที่ชานเมืองโดยรอบ และพร้อมๆกับในพื้นที่ชนบทที่ห่างไกล (Seto al et., 2013) ซึ่งเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงสถานการณ์ในอนาคตของพื้นที่เมืองทั้งในชุมชนชานเมืองและชุมชนที่ห่างไกลกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางพื้นที่ ซึ่งเป็นปรากฎการณ์ที่ได้ว่าได้เกิดขึ้นแล้ว เช่น กรณีการขยายตัวของพื้นที่เมืองในอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน และอีกหลายพื้นที่ในประเทศ (นิกร มหาวัน และวันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, 2561) การขยายของเมืองดังกล่าวส่งผลต่อความต้องการปริมาณอาหารที่มากขึ้น ในขณะเดียวกันพื้นที่เพาะปลูกกับถูกเปลี่ยนไปเป็นอาคารและสิ่งปลูกสร้างอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับพฤติกรรมการบริโภคของชุมชนที่เปลี่ยนไปพึงพาตลาดมากขึ้นจากเดิมที่เคยพึงพาพืชอาหารพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชน นำไปสู่การปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการค้าและละเลยพืชพื้นบ้านที่นำไปสู่การลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพรรณในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ในภาวการณ์เช่นนี้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพยายามทุกวิถีทางเพื่อปลูกจิตสำนึกในการ “รู้รักษ์” ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อให้คงอยู่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อประเทศชาติและประชาชนต่อไป ด้วยการพระราชทานโครงการในพระราชดำริต่างๆเพื่อการรื้อฟื้นพืชพรรณท้องถิ่นหลายชนิด ให้กลายมาเป็นงานหัตถศิลป์ สร้างรายได้ ทั้งเฟิร์นและย่านลิเภาในป่าลึกภาคใต้ รวมทั้งพืชพื้นถิ่นทั้ง ได้แก่ หวาย ไผ่ กก จนถึงหม่อน พืชที่ใช้สำหรับการเลี้ยงใหม สำหรับทอผ้าไหมเอกลักษณ์ เหล่านี้ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของงานในโครงการพระราชดำริ ที่ทรงพยายามอนุรักษ์พืชท้องถิ่นเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพในธรรมชาติ และสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร (ปิยนาถ,2555) ดังพระราชดำรัสในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชทาน ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2550 ตอนหนึ่งความว่า "ข้าพเจ้ามีความภูมิใจในทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้และสัตว์ป่าของไทยมาก ข้าพเจ้าเห็นว่าเราควรจะใช้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้อย่างระมัดระวังและทำนุบำรุงให้คงอยู่ตลอดไป มิใช่ให้ประวัติศาสตร์จารึกได้ว่า ทรัพยากรเหล่านี้ถูกทำลายหมดสิ้นในระยะเวลาอันสั้นแค่อายุของเรา ทรัพยากรธรรมชาตินับเป็นสมบัติล้ำค่าของชาติ และเป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษ สมควรที่เราทั้งหลายจะช่วยกันรักษาไว้ให้คงเป็นประโยชน์สืบไปชั่วลูกชั่วหลาน"- ... -“ข้าพเจ้าหวังว่าท่านจะเห็นพ้องกับข้าพเจ้าในความห่วงใยและจุดประสงค์ที่จะปกป้องแผ่นดินอันอุดมสมบูรณ์อันเป็นมรดกที่ เราได้มาจากบรรพบุรุษรุ่นก่อนๆปกป้องไว้ ไม่ใช่เพียงเพื่อตัวเราเองเท่านั้น แต่เพื่อ ลูกหลานของเราและลูกหลานของเขาต่อๆกันไป” ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อการส่งเสริมให้มีการนำพืชอาหารพื้นถิ่นมาใช้ในออกแบบภูมิทัศน์ในพื้นที่พักอาศัย ซึ่งกำลังได้รับความสนใจในสังคมเป็นวงกว้างในปัจจุบัน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ฟื้นฟูความหลากหลายทางพันธุกรรมทรัพยากรพืชอาหารพื้นถิ่นอย่างยั่งยืน โดยใช้พืชอาหารพื้นถิ่นผสมผสานกับการออกแบบภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับรูปแบบการใช้ชีวิตของสังคมเมืองที่ขาดพื้นที่สีเขียวและแหล่งพืชอาหารที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน นำไปสู่การสืบสานการอนุรักษ์ความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชท้องถิ่นให้เยาวชนรุ่นหลังได้มีโอกาสเรียนรู้และนำมาสู่การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ตามพระราชประสงค์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ และเป็นทรัพย์สินอันทรงคุณค่าของชาติต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสืบค้นพืชอาหารพื้นถิ่นที่เป็นอาหารของชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ และจัดทำข้อมูลทางพฤกษศาสตร์พื้นฐานของพืชอาหารพื้นถิ่น
วิเคราะห์ศักยภาพของพืชอาหารพื้นถิ่นเพื่อการนำมาใช้ในงานภูมิทัศน์
เพื่อเสนอแนวทางการจัดภูมิทัศน์บริเวณที่พักอาศัยด้วยพืชอาหารพื้นถิ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการศึกษาศักยภาพของพืชอาหารพื้นถิ่นในเขตชานเมืองเชียงใหม่เพื่อการนำไปใช้ในงานภูมิทัศน์
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการรับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการศึกษาศักยภาพของพืชอาหารพื้นถิ่นในเขตชานเมืองเชียงใหม่เพื่อการนำไปใช้ในงานภูมิทัศน์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการศึกษาศักยภาพของพืชอาหารพื้นถิ่น ในเขตชานเมืองเชียงใหม่เพื่อการนำไปใช้ในงานภูมิทัศน์
1. การสำรวจภาคสนาม สำรวจและจัดทำบันทึก คุณลักษณะพืชที่มีศักยภาพ เพื่อจัดทำฐานรายชื่อพืชพื้นถิ่น (Plant List)
2. การวิเคราะห์ ประเมินศักยภาพการใช้ในงานภูมิทัศน์
3. การออกแบบรูปแบบการออกแบบที่เหมาะสมสำหรับพืชอาหารพื้นถิ่นกับการใช้ประโยชน์ในที่พักอาศัยในชุมชนและจัดพิมพ์รายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกร  มหาวัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมข้อมูลพืชท้องถิ่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่ออกแบบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบพื้นที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมา จำแนก วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลพืชพรรณในงานภูมิทัศน์ 100 ชนิด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่า หรือจ้างเหมารถ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าจัดพิมพ์รายงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 120000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ใบโอนเงิน 63 โครงการ อพ ศธ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล