15757 : โครงการการรวบรวมพันธุ์มะนาวพื้นเมือง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/5/2563 10:15:22
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา ประชาชนที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพสธ.) 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. จันทร์เพ็ญ  สะระ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส63-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส63-2.4 เป็นหน่วยงานที่สนองงานโครงการตามพระราชดำริ
ตัวชี้วัด วส63-12. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส63-2.4.1 สนับสนุนการดำเนินงานของมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการตามพระราชดำริ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มะนาวมีชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swingle เป็นพืชที่มีคุณประโยชน์มากมายหลาย เช่น ใช้ประกอบอาหาร ใช้เป็นยาสมุนไพร และใช้เป็นส่วนผสมของน้ำยาทำความสะอาดต่างๆ เป็นต้น ในประเทศไทยมีพันธุ์มะนาวหลากหลายพันธุ์ โดยเฉพาะในปัจจุบันมีการปรับปรุงพันธุ์มะนาวใหม่ๆ เกิดขึ้นหลายพันธุ์ที่มีการขึ้นทะเบียนที่สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช เช่น ด่านเกวียน พิจิตร 1 แป้นสุขประเสริฐ แป้นศุกลภัทร เป็นต้น ทำให้เกษตรหันมาปลูกมะนาวพันธุ์ใหม่ๆ กันมากขึ้นเนื่องจากมีการปรับปรุงพันธุ์ให้มีเปลือกบาง และมีเมล็ดน้อยหรือไม่มีเมล็ด ซึ่งอาจทำให้มะนาวพันธุ์พื้นบ้านต่างๆ หรือพันธุ์ที่ไม่ต้านทานต่อโรค แต่มีลักษณะทางการเกษตรบางลักษณะที่ทรงคุณค่า อาจสูญหายไปได้ ดังนั้น โครงการรวบรวมพันธุ์มะนาวพื้นเมืองและศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุลที่ได้จัดทำขึ้นนี้จึงมีความสำคัญในการรวบรวมพันธุ์มะนาวไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ และมีการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ด้านการปรับปรุงพันธุ์ในอนาคต เนื่องจากโรคและแมลงมีการปรับตัวให้เข้ากับพันธุ์พืชอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับประเทศไทยประสบกับปัญหาโรคร้อนขึ้นทุกปี อาจจะทำให้มะนาวที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมไม่ได้มีการสูญหายไป และการใช้เทคนิคทางด้านชีวโมเลกุลจะช่วยจำแนกความซ้ำซ้อนของสายพันธุ์มะนาวได้ เพราะประวัติความเป็นมาของมะนาวแต่พันธุ์ในประเทศไทยยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่เกษตรกรที่ประสบปัญหาการขาดแคลนกล้าพันธุ์ไม้ผลจากปัญหาระบาดของศัตรูพืชหรืออุทกภัยในอนาคตต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อปลูกและดูแลพันธุ์มะนาวพื้นเมืองที่ได้ทำการรวบรวมและขยายพันธุ์ให้มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น
เพื่อศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของมะนาวพื้นเมือง
เพื่อเป็นศูนย์รวบรวมเรียนรู้พันธุกรรมมะนาว และศึกษาวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์พันธุกรรมในด้านการปรับปรุงพันธุ์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ปลูกและรักษาทรัพยากรพันธุ์มะนาวพื้นเมือง
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนต้นพันธุ์มะนาวที่ขยายพันธุ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
300 ต้น 300
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 2 องค์ความรู้ลักษณะทางกายภาพของมะนาวพันธุ์พื้นเมือง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 3 : ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ตัวชี้วัดที่ 4 พันธุ์มะนาวที่เก็บรวบรวม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 พันธุ์ 10
KPI 5 : ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ตัวชี้วัดที่ 6 ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 บาท 100000
KPI 7 : ตัวชี้วัดที่ 7 จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 8 : ตัวชี้วัดที่ 8 ฐานรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมมะนาว สำหรับการศึกษาเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 9 : ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ปลูกและรักษาทรัพยากรพันธุ์มะนาวพื้นเมือง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การรวบรวมพันธุ์มะนาวพื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเตรียมหลุมสำหรับปลูกมะนาว (ค่าจ้างเหมาเตรียมหลุมสำหรับปลูกมะนาว ขนาด 1x1x1 เมตร และผสมดินปลูกใส่หลุม จำนวน 100 หลุม x 60 บาท = 6,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บตัวอย่างมะนาว (ค่าจ้างเหมาเก็บตัวอย่างมะนาวในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนจำนวน 10 พันธุ์ x 2,000 บาท = 20,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ขุยมะพร้าว มูลวัว เชือกฟาง ดินดำ แกลบดิบ ถุงดำ เทปพันกิ่ง กระถาง ท่อ PE ท่อ PVC สปริงเกอร์ เป็นเงิน 74,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 74,000.00 บาท 0.00 บาท 74,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล