15753 : โครงการการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อลดปัญหาหมอกควัน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/4/2563 14:56:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
30/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2563 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส  เชิงปัญญา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 3.1.1 จำนวนกิจกรรม/โครงการที่ให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรม/โครงการ ที่ให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จังหวัดแพร่ เป็นจังหวัดที่มีการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัด ข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวัดแพร่ ปี 2559/2560 พบว่า เกษตรกรในจังหวัดแพร่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากถึง 308,353 ไร่ จากจำนวนพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด 764,159 ไร่ ดังนั้น จึงคิดเป็นร้อยละการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากถึง 40.36 (กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดแพร่ 2560) เมื่อเสร็จสิ้นการเพาะปลูกจะเหลือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ซังข้าวโพด และเปลือกข้าวโพดเป็นจำนวนมาก เกษตรกรจะใช้วิธีเผาเพื่อทำลายวัสดุเหล่านั้น เดือนมีนาคม ซึ่งเป็นเดือนที่เริ่มมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะพบว่าเป็นช่วงเดือนที่มีปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) สูงที่สุด ซึ่งเทากับ 177 µg/m³ (ส่วนแผนงาน สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง,2561) การเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรจึงก่อให้เกิดปัญหาหมอกควัน และปัญหาสุขภาพในระบบทางเดินหายใจตามมา ข้อมูลสาธารณสุขจังหวัดแพร่ ประจำปี 2558 พบว่า จังหวัดแพร่มีจำนวนประชากรผู้เสียชีวิตจากโรคระบบทางเดินหายใจเท่ากับ 42.03 ต่อประชากรแสนคน และข้อมูลอัตราการเสียชีวิตประชากรในจังหวัดแพร่ ประจำปี 2560 พบว่า ประชากรในจังหวัดแพร่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งหลอดลมใหญ่และปอด เท่ากับ 5.09 (กลุมงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดแพร่,2560 : วิเชียรรัตน์ จำนงวิทย์) การลดการเผาทำลายวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยนำมาเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยหมัก หรือถ่านกัมมันต์ จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจในการลดปัญหาหมอกควัน รวมถึงปัญหาสุขภาพของประชากรในท้องถิ่นด้วย อีกทั้ง การไม่เผาทำลายวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นการอนุรักษ์ความสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เพาะปลูก ลดปัญหาดินเสื่อมโทรมและการบุกรุกป่า นอกจากนั้น การใช้ปุ๋ยหมักที่ผลิตเองได้ยังเป็นการลดต้นทุนการผลิตจากการซื้อปุ๋ยเคมีอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง
2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตไบโอชาร์จากเศษวัสดุทางการเกษตร
3. เพื่อส่งเสริมการใช้ปุ๋ยหมักในการปลูกพืชภายใต้ระบบการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรสามารถทำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกองได้
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.01276 ล้านบาท 0.01276
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่อบรมมากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
ผลผลิต : เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถผลิตไบโอชาร์ได้
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.02476 ล้านบาท 0.02476
KPI 2 : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่อบรมมากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกพืชภายใต้ระบบการปฏิติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
KPI 1 : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่อบรมมากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.01248 ล้านบาท 0.01248
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรสามารถทำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกองได้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 2.5x1 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 125 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,725.00 บาท 0.00 บาท 2,725.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัดุเกษตร เช่น ปุ๋ยคอก ฟางข้าว เป็นต้น เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ดินสอ ปากกา เป็นต้น เป็นเงิน 4,435 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,435.00 บาท 0.00 บาท 6,435.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12760.00
ผลผลิต : เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถผลิตไบโอชาร์ได้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตไบโอชาร์จากเศษวัสดุทางการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 2.5x1 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 125 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,725.00 บาท 0.00 บาท 2,725.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัดุเกษตร เช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ไผ่ หรือเศษวัสดุทางการเกษตรอื่นๆสำหรับการสาธิต เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น แฟ้ม กระดาษ เป็นต้น เป็นเงิน 4,435 บาท
3. ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น ถัง แผ่นอะลูมิเนียม ท่อพีวีซี เป็นต้น เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 18,435.00 บาท 0.00 บาท 18,435.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24760.00
ผลผลิต : เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกพืชภายใต้ระบบการปฏิติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปลูกพืชภายใต้ระบบการปฏิบัติการทางการเกษตรที่ดี (GAP)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 2.5x1 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 125 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,725.00 บาท 0.00 บาท 2,725.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ เป็นต้น เป็นเงิน 4,155 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์สี่สี เป็นต้น เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,155.00 บาท 0.00 บาท 6,155.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12480.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล