15751 : โครงการบูรณาการวิชาการแก่ชุมชน “ชุมชนยั่งยืน” (ุ63-3.2.5)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/4/2563 19:24:45
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  นักศึกษา ผู้นำชุมชน ชุมชนบ้านดง หน่วยงานปกครองท้องถิ่น บ้านดง หมู่ 6 ต.เทพเสด็จ อ. ดอยสะเก็ด จ. เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ (สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร) 2563 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พรทิพย์  จันทร์ราช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED63-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED63-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED63-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาพื้นที่ส่งผลต่อคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยทั่วไป ประกอบกับกระแสการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่กำลังเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมในฐานะสถานบันการศึกษาที่มีองค์ความรู้ในด้านการวางแผนและผัง การออกแบบการพัฒนาพื้นที่ จึงเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมให้ชุมชนมีการวางแผนและการออกแบบพื้นที่ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนทั้งทางกายภาพและเศรษฐกิจในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวในเชิงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน จึงกำหนดให้มีกิจกรรมโครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อการส่งเสริมการวางแผนพัฒนาพื้นที่ชุมชนที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป ชุมชนบ้านดง ตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนที่มีกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการทรัพยากรธรรมชาติภายใต้แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง และเป็นพื้นที่ที่การพัฒนาทางการท่องเที่ยวในตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ กำลังมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว หากไม่มีการวางแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ที่สอดคล้องกับบริบทของทรัพยากรชุมชน การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วจะส่งความเสื่อมโทรมของคุณภาพทรัพยากรชุมชน รวมถึงคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนอย่างหลีกเหลี่ยงไม่ได้ ซึ่งผลกระทบดังกล่าวเป็นความกังวลของผู้นำชุมชนบ้านบ้านดงและมีความต้องการได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการจากสถาบันการศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนแม่บทและการออกแบบการพัฒนาพื้นที่ของชุมชนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและทรัพยากรของชุมชน ดังนั้น การอบรมด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน และการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ชุมชนที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน จึงมีความจำเป็นเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ที่สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพชีวิตของชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการของคณะ
เพื่อจัดการอบรมที่ส่งเสริมชุมชนให้มีแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ที่ส่งเสริมระบบนิเวศชุมชนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่อตอบสนองความต้องการชุมชนทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ และการ ออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ชุมชนบ้าน บ้านดง” ปฏิบัติการร่วมกับชุมชน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : การบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการของคณะ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รายวิชา 1
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการรับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ชุมชนบ้าน บ้านดง” ปฏิบัติการร่วมกับชุมชน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับชุมชน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน กรณี การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนบ้านดง ตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ (กิจกรรม 2 วันเต็ม : กลุ่มเป้าหมาย คนในพื้นที่ 30 คน และทีมอื่นๆร่วมอีก 30 คน รวม 60 คน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 60 คน x 30 บาท x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเช้า (จำนวน 60 คน x 120 บาท x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 60 คน x 120 บาท x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (ผู้เช้าอบรมบางส่วน) (จำนวน 30 คน x 400 บาท x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ ค่าเช่า หรือจ้างเหมารถ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 3 คัน x 2 วัน x 2,000 บาท x 1 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำโมเดลผังชุมชน (จำนวน 1 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย (จำนวน 1 คน x 600 บาท x 3 ชั่วโมง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมนำเสนอแนวคิด “การออกแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ชุมชนบ้านบ้านดง”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พรทิพย์  จันทร์ราช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ไม่เบิกจ่ายงบประมาณ-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล