15745 : โครงการการมีส่วนร่วมในการศึกษารวบรวมกล้วยไม้ไทยพันธ์ุแท้ที่มีกลิ่นหอมเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์โดยการสกัดกลิ่นด้วยเชียร์บัตเตอร์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ พิลาดี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/5/2563 17:11:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย เกษตรกรและประชาชนผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ) 2563 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 3.การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม โดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน เพื่อมุ่งสู่การยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 3.1 ผลงานวิจัยมุ่งเน้นภาคการเกษตรเพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
ตัวชี้วัด 63 MJU 3.1.1 ร้อยละการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดในแผนแม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 3.1.1 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนแม่บทการวิจัยระยะ 15 ปี ให้เป็นไปตามเป้าหมาย และร่วมสนับสนุนการบรรลุวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.5 สร้างและพัฒนาชุมชนเป้าหมายด้านบริการวิชาการ และแสวงหาเครือข่ายความร่วมมือ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 ผก 3. การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมโดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน เพื่อมุ่งสู่การยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
เป้าประสงค์ 63 ผก 3.1 ผลงานวิจัยมุ่งเน้นภาคการเกษตรเพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
ตัวชี้วัด 63 ผก 3.1 จำนวนเงินวิจัยต่ออาจารย์และนักวิจัยประจำด้านวิทยาศาสตร์
กลยุทธ์ 63 ผก 3.1 สร้างเครือข่ายและผลักดันให้มีการแสวงหาแหล่งทุนภายใน และภายนอกเชิงรุก
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 ผก 4. การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 63 ผก 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 63 ผก 4.1 ร้อยละงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 63 ผก 4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากผลกระทบในการตัดไม้ทำลายป่าซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของทรัพยากรต่างๆ ทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ถูกทำลายลงไปเป็นอย่างมากจนส่งผลกระทบต่อพันธุ์พืชและสัตว์หลายชนิดใกล้สูญพันธุ์รวมทั้ง พืชป่าหลายชนิดเริ่มหายากและใกล้สูญพันธุ์ โดยเฉพาะกล้วยไม้ป่าชนิดต่างๆ ถูกนำออกจากป่าซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยจนเกิดการสูญเสียความความหลากหลายของระบบนิเวศ เป็นผลมาจากการลักลอบนำทรัพยากรเหล่านี้เพื่อการค้าที่ผิดกฎหมาย ทั้งในระดับท้องถิ่นภายในประเทศ หรือลักลอบส่งออกไปยังต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นสาเหตุต้นๆ ของการลดลงอย่างต่อเนื่องของประชากรกล้วยไม้ในป่าธรรมชาติ จนถึงปัจจุบันการค้ากล้วยไม้ป่ายังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง รวมถึงปัญหาพื้นที่ป่าที่มีพื้นที่ลดลง จากการถูกบุกรุกแผ้วถาง ส่งผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมต่อจำนวนประชากรของกล้วยไม้ป่าที่ลดลงอย่างรวดเร็ว และหายากมากขึ้นในปัจจุบัน และสถานะกล้วยไม้ไทยหลายชนิดกำลังอยู่ในขั้นวิกฤติ กล้วยไม้เป็นพืชชนิดหนึ่งที่แสดงถึงความงดงาม และแสดงถึงคุณค่าทางจิตใจต่อมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องกับคุณค่าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และประเพณี กล้วยไม้มีความงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้งความหลากหลายของชนิดพันธุ์ สีสัน หรือ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จึงเป็นพืชที่ได้รับความสนใจจากผู้คนอย่างแพร่หลาย ซึ่งในอีกแง่มุมหนึ่ง กล้วยไม้ก็เป็นพืชที่ค่อนข้างมีความเสี่ยงสูงในการสูญพันธุ์ไปจากแหล่งอาศัยในธรรมชาติ โดยเฉพาะ “กล้วยไม้ไทย” ซึ่งเป็นพืชที่อาศัยตามป่าหรือแหล่งธรรมชาติและบางชนิดมีเฉพาะในท้องถิ่นนั้นๆ จึงเป็นสิ่งที่ควรหวงแหนและควรค่าแก่การอนุรักษ์เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากกล้วยไม้เป็นพืชที่มีความสำคัญในระบบนิเวศ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทุกพื้นที่ป่า ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นตัวชี้วัดถึงความสมบูรณ์ของพื้นที่นั้นๆ นอกจากนั้นการนำกล้วยไม้พันธุ์ไทยพันธุ์แท้ มาปรับปรุงสายพันธุ์เพื่อให้มีความสวยงาม และมีลักษณะที่ดีขึ้นจากสภาพธรรมชาติเพื่อสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจ ประเด็นสำคัญกล้วยไม้อีกจำนวนมากที่ยังสามารถนำมารับประทานได้ เนื่องจากมีสรรพคุณทางยาในการรักษาอาการต่างๆ ได้ และสามารถนำกลิ่นมาใช้ในการนำไปสู่สารตั้งต้นของอุตสาหกรรมสุขภาพ การอนุรักษ์ทรัพยากรของชุมชนอาศัยการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน แต่ในปัจจุบันชาวบ้านส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าใจการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้เพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ จากความสำคัญและประเด็นดังกล่าวจึงนำมาสู่การศึกษาการมีส่วนร่วมในการศึกษารวบรวมกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่มีกลิ่นหอมเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์โดยการสกัดกลิ่นด้วยเชียร์บัตเตอร์โดยชุมชน ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อจะเป็นประโยชน์ในการปลูกเลี้ยงและในสภาพโรงเรือนที่เหมาะสมต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อรวบรวมกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่มีกลิ่นหอมและอนุรักษ์นอกถิ่นอาศัยเพื่อศึกษาการเจริญเติบโต
เพื่อศึกษาวิธีการสกัดสารหอมในกล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ที่ให้กลิ่นหอม
เพื่อนำไปใช้เป็นวัตถุดิบทางอุตสาหกรรมสุขภาพ
เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การรวบรวมกล้วยไม้ไทยที่มีกลิ่นหอม เพื่อการอนุรักษ์และการนำไปใช้ประโยชน์
KPI 1 : จำนวนชนิดพันธุ์กล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ชนิด 10
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของการดำเนินงานที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 บาท 0.1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การรวบรวมกล้วยไม้ไทยที่มีกลิ่นหอม เพื่อการอนุรักษ์และการนำไปใช้ประโยชน์
ชื่อกิจกรรม :
รวบรวมกล้วยไม้ที่มีกลิ่นหอม นำมาปลูกเลี้ยงเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตในสภาพโรงเรือน การศึกษาวิธีการสกัดสารหอมจากกล้วยไม้ ที่ให้กลิ่นหอมด้วย วิธีการใช้ Shea Butter ดูดกลิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการเก็บข้อมูล และอบตัวอย่างดอกกล้วยไม้ จำนวน 10 ชนิด 10 ตัวอย่าง ๆ ละ 250 บาท รวมเป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์ สำหรับเดินทางเก็บข้อมูลกล้วยไม้ที่มีกลิ่นหอม เขตพื้นที่หมู่บ้านปงไคร้ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 คัน 1 วัน ๆ ละ 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเกษตรกรกลุ่มย่อย Focus group จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงในการเดินทาง เพื่อเก็บข้อมูลกล้วยไม้กลิ่นหอม ณ บ้านปงไคร้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ จำนวน 5 คน ๆ ละ1 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร เป็นเงิน 38,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 38,000.00 บาท 0.00 บาท 38,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุโฆษณา เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เงินงบประมาณ มาล่าช้า ทำให้การดำเนินงานโครงการติดขัด การตั้งเบิกเงินล่าช้า
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล