15740 : โครงการบูรณาการวิชาการแก่ชุมชน “ชุมชนรักษ์โลก” (ุ63-3.2.2)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2563
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/4/2563 2:02:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/04/2563  ถึง  30/09/2563
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  บุคลากร นักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ หน่วยงานท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ประชาชน และภาคเอกชน พื้นที่ดำเนินโครงการ ชุมชนสันป่าเปา ตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ (สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร) 2563 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ธวัชชัย  มานิตย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2563 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 63 MJU 4.การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ (61-64)
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 63 MJU 4.2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2563] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3(62-64)-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1(62-64)-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED63-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED63-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED63-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1(62-64) ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2(62-64) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3(62-64) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4(62-64) สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6(62-64) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและทรัพยากรมนุษย์อย่างใหญ่หลวง ประเทศไทยในปัจจุบันตกอยู่ภาวะความเสี่ยงจากสภาพเปลี่ยนแปลงจำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติอย่างสมดุลย์ มีความรู้-ความเข้าใจและมีจิตสำนึกของการดำรงชีพอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการปรับตัวและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง โดยมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนอื่นๆ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาที่มีภารกิจการบริการวิชาการแก่สังคม นอกเหนือจากภารกิจหลักด้านการเรียนการสอน และการวิจัยทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ และการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางการดำเนินงานในเชิงบูรณาการด้านการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม ในการดำเนินงานนั้น คณะได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ “ชุมชนรักษ์โลก” โดย ยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน และหลักเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้เพื่อนำความรู้ที่มีอยู่ภายในคณะไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และท้องถิ่น รวมทั้งสามารถแก้ปัญหา และพัฒนาที่เกิดจากความร่วมมือของชุมชน ท้องถิ่น อันนำไปสู่การเสริมสร้างและพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน งานบริการวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ได้เริ่มดำเนินการด้วยการนำผลสรุปจากผลการประชุมร่วมกับสำนักวิจัยฯ และส่วนราชการในเขตพื้นที่สันทรายที่ได้ทำความร่วมมือและข้อตกลง(MOU) ร่วมกัน นอกจากนี้ คณะได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันชุมชนจากภาวะความเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ กรณีเปรียบเทียบเทศบาลตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย กับองค์การบริหารส่วนตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีอาจารย์ ดร. นิกร มหาวัน เป็นหัวหน้าโครงการ เพื่อเป็นการต่อยอดงานวิจัยจึงได้นำมาบูรณาการกับโครงการบริการวิชาการและการเรียนการสอนของคณะ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดการพื้นที่เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ห่างไกลจากโรคไม่ติดต่อ สร้างภูมิคุ้มกันของชุมชน ด้วยการออกแบบสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพกายและใจ ดังนั้นงานบริการวิชาการและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ได้ลงสำรวจพื้นที่ในเทศบาลตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ตามที่ได้ศึกษาในโครงการวิจัย พบว่าชุมชนต้องการให้คณะช่วยกำหนดรูปแบบและแนวทางในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ตำบลสันป่าเปา ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายนันทนาการของชุมชนได้เป็นอย่างดี

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เพื่อส่งเสริมการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการและงานวิจัยของคณะ
เพื่อตอบสนองความต้องการชุมชนทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ การวางผัง และการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการบูรณาการวิชาการแก่ชุมชน “ชุมชนรักษ์โลก” : ศูนย์กีฬาและนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพชุมชน ชุมชนสันป่าเปา ตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : จำนวนรายวิชาที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิขาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รายวิชา 1
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการรับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : เครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หน่วยงาน 1
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 9 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการบูรณาการวิชาการแก่ชุมชน “ชุมชนรักษ์โลก” : ศูนย์กีฬาและนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพชุมชน ชุมชนสันป่าเปา ตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ขั้นตอนการออกแบบ ศูนย์กีฬาและนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 35 คน x 25 บาท x 4 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 35 คน x 100 บาท x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำโปสเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ ค่าเช่า หรือจ้างเหมารถ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย (จำนวน 3 คน x 2 ชั่วโมง x 600 บาท ) =3,600 +
ภาคปฏิบัติ (จำนวน 3 คน x 6 ชั่วโมง x 300 บาท)= 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,900.00 บาท 0.00 บาท 3,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 31000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ แนวคิดรูปแบบและแนวทางการพัฒนา ศูนย์กีฬาและนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/04/2563 - 30/09/2563
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 35 คน x 25 บาท x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,750.00 บาท 1,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 35 คน x 100 บาท x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ ค่าเช่า หรือจ้างเหมารถ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย (จำนวน 3 คน x 2 ชั่วโมง x 600 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,550.00 บาท 8,550.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล